"ขุขันธ์ เมืองเก่า ชนทุกเผ่าสามัคคี บารมีพระแก้วเนรมิตวัดลำภู คู่หลวงพ่อโตวัดเขียน กระอูบ เกวียน ครุน้อย เครื่องจักสาน ปราสาทโบราณเป็นศรี ประเพณีแซนโฎนตา"
ข้อมูลหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น(กปท.)
 

วาระการประชุมงานควบคุมโรค 31 พฤษภาคม 2560

1 สถานการณ์โรคไข้เลือดออก
ประเทศไทย  ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม..15  พ.. 2560 พบผูปวย 10343 ราย จาก 77 จังหวัด คิดเปนอัตราปวย 15.81 ตอ แสนประชากร เสียชีวิต 18 ราย คิดเปนอัตราตาย 0.03 ตอแสนประชากร อัตราป่วยตายร้อยละ 0.18  อัตราสวนเพศชายตอเพศหญิง 1 :0.94 กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ
15-24 ป (26.66 %) 10-14 ป (19.60 %) 25-34 ป (14.91 %) อาชีพสวนใหญ นักเรียนรอย ละ 46.3 รับจาง
รอยละ 19.3 ไมทราบอาชีพ/ ในปกครองรอยละ 17.9 จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด 5 อันดับแรกคือ สงขลา(142.82 ตอแสนประชากร
) พัทลุง (115.80 ตอแสนประชากร) ปตตานี(97.81 ตอแสนประชากร) นราธิวาส (78.44 ตอแสนประชากร) นครศรีธรรมราช (60.96 ตอแสน ประชากร) 
จังหวัดศรีสะเกษ ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.. –  23.. 2560  พบผูปวยจำนวนทั้งสิ้น
78 ราย  คิดเป็นอัตราป่วย   5.35  ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต
  อัตราส่วนเพศชายต่อ
เพศหญิง  เท่ากับ 1.44 : 1
  กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 15 - 24  ปี  (26  ราย)  รองลงมาคือกลุ่มอายุ   10 - 14  ปี (21  ราย), กลุ่มอายุ 0 - 4 ปี (8  ราย), กลุ่มอายุ 35 - 44 ปี (5 ราย) และกลุ่มอายุ 25 - 34  ปี (5  ราย)  อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ  นักเรียน  จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ  30  ราย  รองลงมาคือ  ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง (20  ราย) , เกษตร (18  ราย) , อื่นๆ (5  ราย) และบุคลากรสาธารณสุข (3  ราย)  อำเภอ
ที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด  5 อันดับแรก  คืออำเภอโนนคูณอัตราป่วย  18.06  ต่อแสนประชากร  รองลงมาคืออำเภอเบญจลักษ์  (10.93  ต่อแสนประชากร)
, อำเภอขุนหาญ  (9.52  ต่อแสนประชากร) , อำเภอยางชุมน้อย  (8.13  ต่อแสนประชากร) และอำเภอขุขันธ์  (7.39  ต่อแสนประชากร)
โรคไข้เลือดออกเกิดได้ตลอดทั้งปี  ช่วงนี้มีฝนตกในทุกพื้นที่  จำเป็นต้องมีการลดภาชนะขังน้ำ  โดยการกำจัดขยะมูลฝอยต่างๆ  ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมรอบบ้านและชุมชนตลอดจนการเฝ้าระวังสถานการณ์การเกิดโรคอย่างเข้มข้นต่อเนื่อง  ดังนั้นสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษจึงขอความร่วมมือท่านผู้บริหารสาธารณสุขกำกับติดตามการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่และส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความร่วมมือในการดูแลสภาพแวดล้อม และควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง  ลดค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน  หมู่บ้าน ชุมชน ทำให้ วัด โรงเรียนและหน่วยงานปลอดลูกน้ำยุงลาย และขอขอบคุณทุกหน่วยงานด้านสาธารณสุขและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ให้ความร่วมมือด้วยดีมาโดยตลอด

2. สถานการณ์โรคสุกใส
ประเทศไทย  ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม..14  พ.. 2560 พบผูปวย 32267 ราย จาก 77 จังหวัด คิดเปนอัตราปวย 49.32 ตอแสนประชากร อัตราสวน เพศชายตอเพศหญิง 1: 1.00 กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ 15-24 ป (15.78 %) 7-9 ป (15.62 %) 10-14 ป (15.38 %) อาชีพสวนใหญ นักเรียนรอยละ 44.4 ไมทราบอาชีพ/ใน ปกครองรอยละ 33.3 รับจางรอยละ 13.6 จังหวัดที่มีอัตราปวย       ตอแสนประชากรสูงสุด 5 อันดับ แรกคือ นาน (142.83 ตอแสนประชากร) ภูเก็ต (129.94 ตอ แสนประชากร) เชียงราย (112.57 ตอแสนประชากร) ระยอง (89.78 ตอแสนประชากร) ลําปาง (83.17 ตอแสนประชากร) 
จังหวัดศรีสะเกษ  ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม..23  พ.. 2560 พบผู้ป่วย 1005 ราย  คิดเป็นอัตราป่วย 68.94 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต อัตราส่วนเพศหญิงต่อเพศชาย  เท่ากับ 1.03 : 1  กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ  5 - 9  ปี  (334  ราย)  รองลงมาคือ  กลุ่มอายุ 0 - 4  ปี  (225  ราย),กลุ่มอายุ 10-14 ปี (168  ราย) , กลุ่มอายุ 15 - 24  ปี (152  ราย) และกลุ่มอายุ 25 - 34  ปี (75  ราย)  อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ  นักเรียน  จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ  455  ราย  รองลงมาคือ  ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง (324  ราย) , เกษตร (81  ราย) , อื่นๆ (65 ราย) และบุคลากรสาธารณสุข  (41 ราย)  อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด  5  อันดับแรก  คือ 
อำเภอบึงบูรพ์ อัตราป่วย  276.8
  ต่อแสนประชากร  รองลงมาคืออำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ  (154.11  ต่อแสนประชากร) , อำเภอไพรบึง  (144.07  ต่อแสนประชากร) , อำเภอเบญจลักษ์  (120.28  ต่อแสนประชากร) และอำเภอยางชุมน้อย  (111.17  ต่อแสนประชากร)
จากสถานการณ์ผู้ป่วยทั้งจังหวัดศรีสะเกษ พบผู้ป่วยสูงขึ้นตั้งแต่เดือน กุมภาพันธ์ และสูงสุดในเดือนมีนาคม 2560 เริ่มลดลงในเดือน เมษายน  2560  แต่ยังพบผู้ป่วยสูงกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง ซึ่งถือว่าเกิดการระบาดของโรคในพื้นที่ตั้งแต่ต้นปี 2560 จนถึงปัจจุบัน  ดังนั้นจึงขอความร่วมมือจากผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเฝ้าระวังและดำเนินการตามหลักการเฝ้าระวังควบคุมโรคเน้นการสอบสวนโรคและให้ความรู้ในการดูแลตนเองทั้งผู้ป่วยและผู้ดูแล เพื่อลดการติดเชื้อและควบคุมการระบาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3. สถานการณ์โรคมือเท้าปาก
ประเทศไทย  ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม..14  พ.. 2560   พบผูป่วย 17949 ราย จาก 77 จังหวัด คิดเปนอัตราปวย 27.43 ตอ แสนประชากร เสียชีวิต 1 ราย อัตราสวน เพศชายตอเพศหญิง        1: 0.74 กลุม  อายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ 1 ป (27.07 %) 2 ป (23.46 %) 3 ป (17.33 %) จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด 5 อันดับ แรกคือ จันทบุรี(88.81 ตอแสนประชากร) ตราด (81.91 ตอแสนประชากร)  สุราษฎรธานี(72.83 ตอแสนประชากร) เลย (68.17 ตอแสนประชากร) แมฮองสอน (50.20 ตอแสนประชากร)
จังหวัดศรีสะเกษ  ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแต่วันที่  1 ม..23 .. 2560   พบผู้ป่วยจำนวนทั้งสิ้น 527 ราย  คิดเป็นอัตราป่วย   36.15  ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต  อัตราส่วนเพศชายต่อ เพศหญิง  เท่ากับ 1.55 : 1  กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ  0 - 4  ปี  (480  ราย)  รองลงมาคือ  กลุ่มอายุ    5 - 9 ปี (36  ราย), กลุ่มอายุ 10 - 14 ปี (6  ราย), กลุ่มอายุ 45 - 54 ปี (2  ราย) และกลุ่มอายุ 25 - 34  ปี (1  ราย)  อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ  ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง  จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ  486  ราย  รองลงมาคือ   นักเรียน (31  ราย) , อื่นๆ (5  ราย) , เกษตร (2  ราย) และบุคลากรสาธารณสุข (2 ราย)  อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด  5 อันดับแรก  คือ  อำเภอห้วยทับทันอัตราป่วย  129.67     ต่อแสนประชากร  รองลงมาคืออำเภอเมืองจันทร์  (128.54  ต่อแสนประชากร) , อำเภอกันทรารมย์  (85.54  ต่อแสนประชากร) , อำเภอยางชุมน้อย  (73.20  ต่อแสนประชากร) และอำเภอบึงบูรพ์  (55.36  ต่อแสนประชากร)
จากข้อมูลผู้ป่วยที่เพิ่มมากขึ้นและส่วนใหญ่เป็นเด็กโดยเฉพาะเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จะเห็นได้ว่าข้อมูลผู้ป่วยเดือนปัจจุบันผู้ป่วยลดลง  เนื่องจากการปิดเทอมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  และคาดว่าข้อมูลผู้ป่วยเดือนมิถุนายน  มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เมื่อดูแนวโน้มผู้ป่วยค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง  ดังนั้น เจ้าหน้าที่สาธารณสุขควรดำเนินการให้เกิดการดำเนินงานตามศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรคเป็นแนวทางในการพัฒนาเพื่อเฝ้าระวังโรคติดต่อ  สนับสนุนให้ครูพี่เลี้ยงเด็กและผู้ปกครองให้การคัดกรองอาการเด็กหากมีอาการป่วยหรือสงสัย ให้เน้นการแจ้งข่าวมายังเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อตรวจสอบและดำเนินการให้ผู้มีอาการได้รับการรักษาอย่างรวดเร็ว ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเน้นความสะอาด และการดูแลสุขลักษณะส่วนบุคคลทั้งที่บ้านและในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 

4. เลปโตสไปโรซีส
ประเทศไทย  ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.. - 14  พ.. 2560  พบผูปวย 702 ราย จาก 56 จังหวัด คิดเปนอัตราปวย 1.07 ตอแสน ประชากร เสียชีวิต 19 ราย คิดเปนอัตราตาย 0.03 ตอแสนประชากร อัตราสวนเพศชาย
ตอเพศหญิง
1: 0.32  กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ 45-54 ป (19.52 %)      35-44 ป (19.37 %)
25-34 ป (16.81 %) อาชีพสวนใหญ เกษตรรอยละ 44.0 รับจางรอยละ 26.8 นักเรียน  รอยละ 8.8 จังหวัดที่มีอัตรา
ปวยตอแสนประชากรสูงสุด  
5  อันดับแรกคือ นครศรีธรรมราช (8.32 ตอแสนประชากร) กระบี่ (7.62 ตอแสนประชากร) ศรีสะเกษ (7.23 ตอแสนประชากร) ตรัง (5.47 ตอแสนประชากร) พัทลุง (4.22 ตอ
แสนประชากร)
จังหวัดศรีสะเกษ  ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม..23  พ.. 2560  พบผูปวยจำนวนทั้งสิ้น 106 ราย  คิดเป็นอัตราป่วย   7.27  ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียชีวิต 1  ราย   อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ  0.07  อัตราผู้ป่วยตายเท่ากับร้อยละ  0.94  อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง  เท่ากับ 4.89 : 1 กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 45 - 54  ปี  (26  ราย)  รองลงมาคือ  กลุ่มอายุ   35 - 44  ปี  (25  ราย) , กลุ่มอายุ 55 - 64  ปี (19  ราย) , กลุ่มอายุ 25 - 34  ปี (14  ราย) และกลุ่มอายุ 65 ปีขึ้นไป (12  ราย)  อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือเกษตร  จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ  79  ราย  รองลงมาคือข้าราชการ   (7  ราย) , อื่นๆ (7  ราย), รับจ้าง,กรรมกร (4  ราย) และบุคลากรสาธารณสุข (3  ราย)  อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด  5 อันดับแรก  คือ  อำเภอขุนหาญอัตราป่วย  34.26  ต่อแสนประชากร  รองลงมาคืออำเภอไพรบึง  (14.62  ต่อแสนประชากร) , อำเภอภูสิงห์  (14.53  ต่อแสนประชากร) , อำเภอขุขันธ์  (14.11  ต่อแสนประชากร) และอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ  (12.5  ต่อแสนประชากร)

กลุ่มเสี่ยงโรคดังกล่าวประกอบอาชีพเกษตรกรรม และมีอายุอยู่ในวัยทำงาน  ในช่วงนี้จะมีการดำเนิน กิจกรรมทางการเกษตร ทำนา  ทำไร่  ที่มีโอกาสไปสัมผัสเชื้อก่อโรคได้ตามแหล่งน้ำในธรรมชาติ ขอให้หน่วยงานด้านสาธารณสุขและหน่วยงานด้านประชาสัมพันธ์  ให้ความรู้ให้ประชาชนปฏิบัติตัวให้ลดการติดเชื้อ หากมีอาการตั้งแต่เริ่มป่วยให้เข้ารักษาอย่างรวดเร็ว

วาระการประชุมประจำเดือนมิถุนายน 2560 ออนไลน์(อ.สุเพียร คำวงศ์&อ.สมจันทร์ บัวเขียว)

1. ตามที่ กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ ร่วมกับ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และ แผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาวะที่ดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิต ภายใต้โครงการพัฒนาระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข(Long Term Care:LTC) อำเภอขุขันธ์ มีพื้นที่นำร่องในปีประมาณ 2560 จำนวน 10 ตำบล ได้แก่ 
           1) กันทรารมย์ (รพ.สต.โคกโพน และ อบต.กันทรารมย์)
           2) โคกเพชร (รพ.สต.โคกเพชร และ อบต.โคกเพชร)
           3) จะกง (รพ.สต.จะกง และ อบต.จะกง)
           4) ใจดี (รพ.สต.ใจดี และ อบต.ใจดี)
           5) ปรือใหญ่ (รพ.สต.ปรือใหญ่ ,ปรือคัน ,ทับทิมสยาม 06 และ อบต.ปรือใหญ่)
           6) โสน (รพ.สต.อาวอย , ขนุน ,หนองคล้า และ อบต.โสน)
           7) ศรีสะอาด (รพ.สต.ตะเคียนบังอีง และ อบต.ศรีสะอาด)
           8) สะเดาใหญ่ (รพ.สต.รพ.สต.หนองลุง และ อบต.สะเดาใหญ่)
           9) สำโรงตาเจ็น (รพ.สต.สำโรงตาเจ็น และ อบต.สำดรงตาเจ็น)
           10) หัวเสือ (รพ.สต.หัวเสือ และ อบต.หัวเสือ)


       ในการนี้ เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอขุขันธ์(คปสอ.ขุขันธ์) จึงขอเชิญ ผอ.รพ.สต. , ผู้รับผิดชอบงาน LTC รพ.สต., นายกองค์การบริหารส่วนตำบล และผู้รับผิดชอบงานLTCของ อบต. เข้าร่วมประชุมรับทราบแนวทางการดำเนินงานในอำเภอและท้องถิ่น เพื่อการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุได้อย่างครอบคลุมในพื้นที่เป้าหมาย ในวันที่ 6 มิถุนายน 2560 เวลา 8.30 - 12.00 น.  ณ  ห้องประชุมศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองห้วยเหนือ(โรงพยาบาลขุขันธ์แห่งเดิม) 
       สำหรับหนังสือเชิญ ลงนามโดยท่านนายอำเภอขุขันธ์ สามารถรับได้จากคุณสุพัตรา รัตนะวงษ์ขันธ์ ...ครับ

ที่มา : ที่ ศก0418/2263 ลง29 พ.ค. 2560 เรื่อง ขอเชิญประชุม


2. การตรวจสอบรายงานผู้สูงอายุจาก HDC(43+7 แฟ้ม)
10. ร้อยละของ Healthy Ageing จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2560 >คลิกเพื่อตรวจสอบ
11. จำนวนผู้สูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบ จำแนกตามความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2560 >คลิกเพื่อตรวจสอบ
12. ผลการคัดกรองผู้สูงอายุ 10 เรื่อง (Special PP)จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2560 >คลิกเพื่อตรวจสอบ

3. สสจ.ศรีสะเกษ โดย สสอ.ขุขันธ์ ขอความร่วมมือ ผอ.รพ.สต./ผู้รับผิดชอบกรอกแบบรายงาน LTC ของกระทรวงสาธารณสุข โดยให้กรอกส่งทุกเดือน(เฉพาะ รพ.สต.ที่เป็นตำบลLTC59+60 จำนวน 10 ตำบล ดังกล่าวข้างต้น)  คลิกกรอก ตรวจสอบรายงาน


4. วาระการประชุมฯฝากจาก คุณสมจันทร์ บัวเขียว พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 
    1.1 ตามที่ คปสอ.ขุขันธ์ ได้รับประสานจาก กศน.อำเภอขุขันธ์ ในการจัดอบรมCare Giver(CG) ตั้งเป้าหมายไว้ 20 คนขึ้นไป ซึ่งจะจัดบรมให้ตามหลักสูตร 70 ชั่วโมงของกรมอนามัย สำหรับวันที่อบรมCare Giver(CG) รอทาง ครูกศน.อำเภอขุขันธ์ แจ้งยืนยันวันอบรมที่แน่นอนอีกครั้ง และจะได้แจ้งให้ให้ รพ.สต.ทุกแห่งที่เกี่ยวข้องทราบในลำดับต่อไป เพราะ ช่วงนี้ครู กศน.ติดงานประชุมและอบรมฯ
         สำหรับ รพ.สต.ที่ได้ส่งCare Giver(CG)เข้ารับการอบรมเพิ่ม เพื่อให้มีจำนวนเพียงพอกับจำนวนผู้สูงอายุประคับประคองที่เพิ่มขึ้น ในครั้งนี้ ได้แก่
         1) รพ.สต.ตะเคียนช่างเหล็ก จำนวน Care Giver(CG) เดิม 1 คน จำนวนส่งเข้ารับการอบรมเพิ่มตามเกณฑ์ 2 คน

         2) รพ.สต.อาวอย จำนวน Care Giver(CG) เดิม 1 คน จำนวนส่งเข้ารับการอบรมเพิ่มตามเกณฑ์ 2 คน
         3) รพ.สต.หัวเสือ จำนวน Care Giver(CG) เดิม 3 คน จำนวนส่งเข้ารับการอบรมเพิ่มตามเกณฑ์ 1 คน
         4) รพ.สต.จะกง จำนวน Care Giver(CG) เดิม 3 คน จำนวนส่งเข้ารับการอบรมเพิ่มตามเกณฑ์ 1 คน
         5) รพ.สต.ปราสาท จำนวน Care Giver(CG) เดิม 2 คน จำนวนส่งเข้ารับการอบรมเพิ่มตามเกณฑ์ 1 คน
         6) รพ.สต.ปรือคัน จำนวน Care Giver(CG) เดิม 3 คน จำนวนส่งเข้ารับการอบรมเพิ่มตามเกณฑ์ 1 คน
         7) รพ.สต.ทับทิมสยาม 06 จำนวน Care Giver(CG) เดิม 1 คน จำนวนส่งเข้ารับการอบรมเพิ่มตามเกณฑ์ 2 คน
         วมทั้ง 7 รพ.สต. จำนวน 10 คน ทั้งนี้ คปสอ.ขุขันธ์ ได้รับรายชื่อไว้ครบเรียบร้อยแล้ว ขอขอบพระคุณทุก รพ.สต.อีกครั้ง

1.2 การคัดกรองตา ตามโปรแกรม vision 2020http://www.vision2020thailand.org/report.php ให้เตรียมกลุ่มเสี่ยงไว้เพื่อจะได้ประสานงานให้แพทย์ออกใบส่งตัว(Refer Card)ให้คนไข้ไปโรงพยาบาลศรีสะเกษ หรือ โรงพยาบาลประชารักษ์ ต่อไป และสำหรับ รพ.สต.ใดที่ได้คัดกรองครบตามเป้าแล้ว ขอให้ส่งเอกสารเบิกงบสนับสนุนฯ รพ.สต.ละ 1,250 บาท ได้ที่ คุณสมจันทร์ บัวเขียว ในวันและเวลาราชการ


       หมายเหตุ 
       1) รายงานการคัดกรองตาผู้สูงอายุในโปรแกรม Vision 2020 Thailand ต้องมากกว่าร้อยละ 75



        2) รายงานการคัดกรอง Basic Geriatric Screening ภาพรวมโปรแกรม Aging Health Data ต้องมากกว่าร้อยละ 90


      3) สำหรับพื้นที่ตำบล LTC จำนวน Care Plan ที่เขียน และ Care Giver(CG)ลงสู่การปฏิบัติ ต้องมากกว่าร้อยละ 80
พื้นที่ LTC : 10 ตำบล : 14 รพ.สต. งบประมาณโอนลงที่ท้องถิ่นแล้ว ทุกแห่ง
10 เม.ย.60 ที่ผ่านมาได้จัดประชุม Conference Care Plan เป้าหมาย CM จำนวน 14 รพ.สต.
 - 6 มิ.ย. 60 ขับเคลื่อนองค์กรท้องถิ่น พื้นที่เป้าหมาย 10 ตำบล ร่วมกับ รพ.สต.
         - เดือน มิ.ย.60 CM นำเสนอ CP กับคณะอนุกรรมการ LTC เพื่อขออนุมัติ ดำเนินการตาม CP
         - เดือน มิ.ย. 60 CG เริ่มลงปฏิบัติงาน ตาม CP 
         - เดือน ก.ค. 60 ออกประเมินระดับอำเภอ โดยคณะกรรม LTC ระดับอำเภอ
            อย่างน้อยต้องได้ ระดับดี ร้อยละ 30 คือ 4 แห่ง จาก 14 แห่ง

5. แนะนำเวปไซต์ อำเภอขุขันธ์ อยู่ที่ URL นี้ http://www.khukhan.info/ ทุกท่านสามารถคลิกเข้าเยี่ยมชมได้ โดยเฉพาะทีมงานชุดปฏิบัติการตำบลที่ได้มีคำสั่งแต่งตั้งให้เป็นคณะทำงาน ที่จะต้องไปบูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานและส่วนราชการอื่นๆในพื้นที่ตามโครงการขุขันธ์ก้าวหน้า ชาวประชาร่วมใจ ปี 2560 ซึ่งมีตัวชีวัดการทำงานร่วมกัน จำนวน 29 ตัวชี้วัด
*** แบบฟอร์มของทีมงานชุดปฏิบัติการตำบลฯ ที่ลิงก์ด่านล่างนี้https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSdLn123sndBynv-3IPtqerat5mJSrFTiNYZg5UiM153-Ubo-A/viewform
และสามารถตรวจสอบผลการประเมินได้ที่ ลิงก์นี้http://www.khukhan.info/2017/04/blog-post_7.html
       สำหรับตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับด้านสาธารณสุขของเรา มีจำนวน 6 ตัว ชี้วัด ได้แก่ข้อที่ 18 - ข้อที่ 23 ดังรายละเอียดด้านล่าง

ตัวชี้วัด 29 ข้อ โครงการขุขันธ์ก้าวหน้า ชาวประชาร่วมใจ 2560
1. มีการประชุมคณะกรรมการหมู่บ้านอย่างสม่ำเสมอ
2. มีการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน
3. มีข้อพิพาทเกิดขึ้นในหมู่บ้านดำเนินการไกล่เกลี่ยได้ข้อยุติ
4. กฎกติกาของหมู่บ้านเป็นลายลักษณ์อักษรและประชาชนร่วมมือกันปฏิบัติตามกติกา
5. มีการขับเคลื่อนงานบุญปลอดเหล้า/ปลอดการพนันและกำหนดไว้ในกฎ/กติกา/ข้อบังคับของหมู่บ้าน
6. มีการประชุมประชาคมผู้ประสานพลังแผ่นดินอย่างสม่ำเสมอ เพื่อค้นหาผู้เสพ ผู้ติดและนำตัวเข้าสู่การบำบัด รวมถึงติดตามผู้ผ่านการบำบัด
7. จัดให้มีมาตรการรักษาความสงบเรียบร้อยความปลอดภัยในการใช้ชีวิตทรัพย์สิน เช่นการจัดเวรยามมีมาตรการรณรงค์ความปลอดภัยทางถนนในช่วงเทศกาล
8. การพัฒนาปรับปรุงความสะอาดความเป็นระเบียบเรียบร้อยของหมู่บ้านตามเกณฑ์ด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนตามโครงการจังหวัดสะอาด
9. มีการส่งเสริมการปฏิบัติตามค่านิยม 12 ประการ
10. หมู่บ้านมีแหล่งเรียนรู้ (บ้านหนังสือชุมชน) อย่างน้อยหมู่บ้านละ 1 แห่ง (สื่อ สิ่งพิมพ์ และวารสารต่างๆ) หรือศูนย์เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ปราชญ์ชาวบ้าน
11. เด็ก/เยาวชนในหมู่บ้านอายุ15-18ปีเข้าเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับ (จบ ม.3 ทั้งในระบบหรือนอกระบบ)
12. ประชาชนในหมู่บ้านสมัครเข้าร่วมโครงการหมู่บ้านรักษาศีลห้า
13. มีการพัฒนาแหล่งน้ำ และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
14. ครัวเรือนนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ 
15. ครัวเรือนมีการจัดทำบัญชีครัวเรือน (รายรับ-รายจ่าย)เป็นประจำ 
16. ครัวเรือนรายได้ตกเกณฑ์มีแผนการ แนวทางแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม
17. หมู่บ้านมีการจัดวิสาหกิจชุมชนหรือกลุ่มอาชีพที่มีกิจกรรมสร้างรายได้ลดรายจ่ายแก่สมาชิกในครัวเรือนหรือกลุ่ม otop อย่างใดอย่างหนึ่งอย่างน้อยจำนวน 1 กลุ่ม
18.การดูแลกลุ่มที่ต้องการความช่วยเหลือ(ผู้พิการ&ผู้สูงอายุ)
19.การควบคุมป้องกันโรคประจำถิ่น(กำจัดลูกน้ำยุงลาย)
20.1 การควบคุมป้องกันโรคที่เป็นปัญหา(เบาหวาน&ความดัน)
20.2 การควบคุมป้องกันโรคที่เป็นปัญหา(มะเร็งท่อน้ำดี)
21.1 การคุ้มครองสุขภาพผู้บริโภค(บุหรี่)
21.2 การคุ้มครองสุขภาพผู้บริโภค(แอลกอฮอล์)
22. การป้องกันโรคในกลุ่มสตรี(มะเร็งปากมดลูก)
23. การส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็ก(BMIเด็ก)
24. มีการปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกร (ทบก. 01) ให้เป็นปัจจุบัน
25.มีการขึ้นทะเบียนพืชเศรษฐกิจหลัก 3 ชนิด (ข้าว มันสำปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน 
26. หมู่บ้านมีการส่งเสริมการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ที่เป็นรูปธรรม เช่น มีโรงปุ๋ย มีกลุ่มอินทรีย์ เป็นต้น
27. หมู่บ้านมีการป้องกันโรคระบาดสัตว์
28. หมู่บ้านมีการประสานการทำงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น การจ่ายเบี้ยผู้สูงอายุ การจัดทำแผนงาน /โครงการ/ร่วมกิจกรรมอื่น ๆ
29. หมู่บ้านมีกิจกรรมประสานดูแลระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน(บวร)
         สำหรับทีมงานชุดปฏิบัติการตำบลที่ได้รับคำสั่งมอบหมาย สามารถเข้าไปตรวจสอบข้อมูลที่ทุกหมู่บ้านทั้ง 276 หมู่บ้านในอำเภอขุขันธ์ ได้กรอกประเมินตนเองเข้ามาแล้ว ได้ที่ลิงก์นี้ http://www.khukhan.info/2017/04/2560_26.html เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นก่อนออกร่วมประเมินตรวจสอบ และติดตามบูรณาการงานในแต่ละหมู่บ้านกับหน่วยงานและส่วนราชการอื่นๆต่อไป

วาระการประชุมประจำเดือนพฤษภาคม 2560 ออนไลน์(อ.สุเพียร คำวงศ์&อ.สมจันทร์ บัวเขียว)

1. วาระการประชุมฯฝากจาก คุณสมจันทร์  บัวเขียว พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 
     1.1 คปสอ.ขุขันธ์ ได้รับประสานจาก กศน.อำเภอขุขันธ์  ในการจัดอบรมCare Giver(CG) ตั้งเป้าหมายไว้ 20 คนขึ้นไป ซึ่งจะจัดบรมให้ตามหลักสูตร 70 ชั่วโมงของกรมอนามัย สำหรับวันที่อบรมCare Giver(CG) กศน.อำเภอขุขันธ์ และสสอ.ขุขันธ์ จะได้ให้ รพ.สต.ทุกแห่งที่เกี่ยวข้องทราบในลำดับต่อไป เพราะ เมื่อวานนี้ กศน.เพิ่งมาประสานงานฯกับเรา

         สำหรับ รพ.สต.ที่ต้องส่งCare Giver(CG)เข้ารับการอบรมเพิ่มเพื่อมีจำนวนเพียงพอกับจำนวนผู้สูงอายุประคับประคองที่เพิ่มขึ้น  ในครั้งนี้ ได้แก่ 
         1) รพ.สต.ตะเคียนช่างเหล็ก จำนวน Care Giver(CG) เดิม 1 คน จำนวนที่ต้องจัดเข้ารับการอบรมเพิ่มตามเกณฑ์อีก 2 คน
         2) รพ.สต.อาวอย จำนวน Care Giver(CG) เดิม 1 คน จำนวนที่ต้องจัดเข้ารับการอบรมเพิ่มตามเกณฑ์อีก 2 คน
         3) รพ.สต.หัวเสือ จำนวน Care Giver(CG) เดิม 3 คน จำนวนที่ต้องจัดเข้ารับการอบรมเพิ่มตามเกณฑ์อีก 1 คน
         4) รพ.สต.จะกง จำนวน Care Giver(CG) เดิม 3 คน จำนวนที่ต้องจัดเข้ารับการอบรมเพิ่มตามเกณฑ์อีก 1 คน
         5) รพ.สต.ปราสาท จำนวน Care Giver(CG) เดิม 2 คน จำนวนที่ต้องจัดเข้ารับการอบรมเพิ่มตามเกณฑ์อีก 1 คน
         6) รพ.สต.ปรือคัน จำนวน Care Giver(CG) เดิม 3 คน จำนวนที่ต้องจัดเข้ารับการอบรมเพิ่มตามเกณฑ์อีก 1 คน
         7) รพ.สต.ทับทิมสยาม 06  จำนวน Care Giver(CG) เดิม 1 คน จำนวนที่ต้องจัดเข้ารับการอบรมเพิ่มตามเกณฑ์อีก 2 คน
         รวมทั้ง 7 รพ.สต. จำนวน 10 คน 
        รพ.สต.ใดสนใจสามารถแจ้งเพิ่มได้ในไลน์กลุ่มผู้สูงอายุอำเภอขุขันธ์ /หรือแจ้งตรงมาที่ไลน์คุณ สุเพียร  คำวงศ์ ก็ได้ ...ครับ

2. การคัดกรองตา ตามโปรแกรม vision 2020 http://www.vision2020thailand.org/report.php ให้เตรียมกลุ่มเสี่ยงไว้เพื่อจะได้ประสานงานให้แพทย์ออกใบส่งตัว(Refer Card)ให้คนไข้ไปโรงพยาบาลศรีสะเกษ หรือ โรงพยาบาลประชารักษ์ ต่อไป
    
       และสำหรับ รพ.สต.ใดที่ได้คัดกรองครบตามเป้าแล้ว ขอให้ส่งเอกสารเบิกงบสนับสนุนฯ รพ.สต.ละ 1,250 บาท ได้ที่ คุณสมจันทร์ บัวเขียว ในวันและเวลาราชการ
       หมายเหตุ 
       1) รายงานการคัดกรองตาผู้สูงอายุในโปรแกรม Vision 2020 Thailand ต้องมากกว่าร้อยละ 75
        2) รายงานการคัดกรอง Basic Geriatric Screening ภาพรวมโปรแกรม Aging Health Data ต้องมากกว่าร้อยละ 90

3. สำหรับพื้นที่ตำบล LTC จำนวน Care Plan ที่เขียน และ Care Giver(CG)ลงสู่การปฏิบัติ ต้องมากกว่าร้อยละ 80
พื้นที่ LTC : 10 ตำบล : 14 รพ.สต. งบประมาณโอนลงที่ท้องถิ่นแล้ว ทุกแห่ง
10 เม.ย.60 ที่ผ่านมาได้จัดประชุม Conference Care Plan เป้าหมาย CM จำนวน 14 รพ.สต.
         - เดือน พ.ค. 60 ขับเคลื่อนองค์กรท้องถิ่น พื้นที่เป้าหมาย 10 ตำบล ร่วมกับ รพ.สต.
         - เดือน พ.ค.60 CM นำเสนอ CP กับคณะอนุกรรมการ LTC เพื่อขออนุมัติ ดำเนินการตาม CP
         - เดือน มิ.ย. 60 CG เริ่มลงปฏิบัติงาน ตาม CP 
         - เดือน ก.ค. 60 ออกประเมินระดับอำเภอ โดยคณะกรรม LTC ระดับอำเภอ
            อย่างน้อยต้องได้ ระดับดี ร้อยละ 30 คือ 4 แห่ง จาก 14 แห่ง

4. สสจ.ศรีสะเกษ ข้อความร่วมมือ รพ.สต.กันจานและอำนวยความสะดวกในการติดตั้งตู้ยาพระราชทานพร้อมยาสามัญประจําวัด ณ วัดกระโพธิ์ช่างหม้อ หมู่ที่ 6 ตำบลดองกำเม็ด อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ ให้สมพระเกียรติในสถานที่ และตำแหน่งที่เหมาะสม โดยเจ้าอาวาส https://www.facebook.com/sayfakhonaban แจ้งมาว่า ทางวัดได้รับตู้ยาแล้ว และให้บริหารเวชภัณฑ์ตู้ยาพระราชทานประจำวัดเพื่อให้มีเวชภัณฑ์พร้อมใช้ตลอดเวลา
ที่มา : ที่ ศก 0032.007/ว.1697  ลง 19 เม.ย. 2560 เรื่อง ขอความอนุเคราะห์ตู้ยาพร้อมยาสามัญประจำวัดและเวชภัณฑ์ ในพระอุปถัมภ์ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ สำหรับถวายประจำวัดละ 1 ตู้ 77 จังหวัดทั่วประเทศ เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามกุฎราชกุมาร ในมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 60 พรรษา 28 กรกฏาคม 2555 เพิ่มเติม

5. แนะนำเวปไซต์ อำเภอขุขันธ์ อยู่ที่ URL นี้  http://www.khukhan.info/  ทุกท่านสามารถคลิกเข้าเยี่ยมชมได้ โดยเฉพาะทีมงานชุดปฏิบัติการตำบลที่ได้มีคำสั่งแต่งตั้งให้เป็นคณะทำงาน ที่จะต้องไปบูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานและส่วนราชการอื่นๆในพื้นที่ตามโครงการขุขันธ์ก้าวหน้า  ชาวประชาร่วมใจ ปี 2560 ซึ่งมีตัวชีวัดการทำงานร่วมกัน จำนวน 29 ตัวชี้วัด สำหรับตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับด้านสาธารณสุขของเรา มีจำนวน 6 ตัว ชี้วัด ได้แก่ข้อที่ 18 - ข้อที่ 23 ดังรายละเอียดด้านล่าง
ตัวชี้วัด 29 ข้อ โครงการขุขันธ์ก้าวหน้า ชาวประชาร่วมใจ 2560
1. มีการประชุมคณะกรรมการหมู่บ้านอย่างสม่ำเสมอ
2. มีการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน
3. มีข้อพิพาทเกิดขึ้นในหมู่บ้านดำเนินการไกล่เกลี่ยได้ข้อยุติ
4. กฎกติกาของหมู่บ้านเป็นลายลักษณ์อักษรและประชาชนร่วมมือกันปฏิบัติตามกติกา
5. มีการขับเคลื่อนงานบุญปลอดเหล้า/ปลอดการพนันและกำหนดไว้ในกฎ/กติกา/ข้อบังคับของหมู่บ้าน
6. มีการประชุมประชาคมผู้ประสานพลังแผ่นดินอย่างสม่ำเสมอ เพื่อค้นหาผู้เสพ ผู้ติดและนำตัวเข้าสู่การบำบัด รวมถึงติดตามผู้ผ่านการบำบัด
7. จัดให้มีมาตรการรักษาความสงบเรียบร้อยความปลอดภัยในการใช้ชีวิตทรัพย์สิน เช่นการจัดเวรยามมีมาตรการรณรงค์ความปลอดภัยทางถนนในช่วงเทศกาล
8. การพัฒนาปรับปรุงความสะอาดความเป็นระเบียบเรียบร้อยของหมู่บ้านตามเกณฑ์ด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนตามโครงการจังหวัดสะอาด
9. มีการส่งเสริมการปฏิบัติตามค่านิยม 12 ประการ
10. หมู่บ้านมีแหล่งเรียนรู้ อย่างน้อยหมู่บ้านละ 1 แห่ง เช่นบ้านหนังสือชุมชน,หรือศูนย์เรียนภูมิปัญญา ท้องถิ่น/ปราชญ์ชาวบ้าน
11. เด็ก/เยาวชนในหมู่บ้านเข้าเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับ (ทั้งในระบบหรือนอกระบบ)
12. ประชาชนในหมู่บ้านสมัครเข้าร่วมโครงการหมู่บ้านรักษาศีลห้า
13. มีการพัฒนาแหล่งน้ำ และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
14. ครัวเรือนนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติอย่างน้อยร้อยละ 30
15. ครัวเรือนมีการจัดทำบัญชีครัวเรือน (รายรับ-รายจ่าย)เป็นประจำร้อยละ 30 ของครัวเรือนในหมู่บ้านชุมชน
16. ครัวเรือนรายได้ตกเกณฑ์มีแผนการ แนวทางแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม
17. หมู่บ้านมีการจัดวิสาหกิจชุมชนหรือกลุ่มอาชีพที่มีกิจกรรมสร้างรายได้ลดรายจ่ายแก่สมาชิกในครัวเรือนหรือกลุ่ม otop อย่างใดอย่างหนึ่งอย่างน้อยจำนวน 1 กลุ่ม
18.การดูแลกลุ่มที่ต้องการความช่วยเหลือ(ผู้พิการ&ผู้สูงอายุ)
19.การควบคุมป้องกันโรคประจำถิ่น(กำจัดลูกน้ำยุงลาย)
20.1 การควบคุมป้องกันโรคที่เป็นปัญหา(เบาหวาน&ความดัน)
20.2 การควบคุมป้องกันโรคที่เป็นปัญหา(มะเร็งท่อน้ำดี)
21.1 การคุ้มครองสุขภาพผู้บริโภค(บุหรี่)
21.2 การคุ้มครองสุขภาพผู้บริโภค(แอลกอฮอล์)
22. การป้องกันโรคในกลุ่มสตรี(มะเร็งปากมดลูก)
23. การส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็ก(BMIเด็ก)
24. มีการปรับปรุงข้อมูลเกษตรกร (ทบก.01) ให้เป็นปัจจุบัน
25. มีการขึ้นทะเบียนพืชเศรษฐกิจ 3 หลัก(ข้าว มันสำปะหลัง
ข้าวโพด) ปี 2556/2557 ครบถ้วน
26. หมู่บ้านมีการส่งเสริมการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ที่เป็นรูปธรรม เช่น มีโรงปุ๋ย มีกลุ่มอินทรีย์ เป็นต้น
27. หมู่บ้านมีการป้องกันโรคระบาดสัตว์
28. หมู่บ้านมีการประสานการทำงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น การจ่ายเบี้ยผู้สูงอายุ การจัดทำแผนงาน /โครงการ/ร่วมกิจกรรมอื่น ๆ
29. หมู่บ้านมีกิจกรรมประสานดูแลระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน/ราชการ(บวร)

         สำหรับทีมงานชุดปฏิบัติการตำบลที่ได้รับคำสั่งมอบหมาย สามารถเข้าไปตรวจสอบข้อมูลที่ทุกหมู่บ้านทั้ง 276 หมู่บ้านในอำเภอขุขันธ์ ได้กรอกประเมินตนเองเข้ามาแล้ว ได้ที่ลิงก์นี้ http://www.khukhan.info/2017/04/2560_26.html  เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นก่อนออกร่วมประเมินตรวจสอบ และติดตามบูรณาการงานในแต่ละหมู่บ้านกับหน่วยงานและส่วนราชการอื่นๆต่อไป

6. สภาวัฒนธรรมอำเภอขุขันธ์  https://www.facebook.com/KHUKAN.KKDC/ ฝากข่าวมาว่า...วันวิสาขบูชาวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 6 วันสำคัญสากลของโลก 10 พฤษภาคม 2560 ขอเชิญชวนพุทธศาสนิกชนทำความดีถวายเป็นพุทธบูชาระหว่างวันที่ 4 - 10 พฤษภาคม 2560  





7. ด้วย เขตสุขภาพที่ 10 ได้กำหนดจัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาระบบการดูแลระยะยาวในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(Long Term Care) ภายใต้โครงการพัฒนาระบบการดูแลระยะยาวในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(Long Term Care)เขตสุขภาพที่ 10 ปีงบประมาณ 2560 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการดูแลระยะยาวในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง  พัฒนาศักยภาพบุคลากร และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการดำเนินงาน ในวันที่ 24 พฤษภาคม 2560 เวลา 08.00 -16.30 น. ณ ห้องประชุมโรงแรมกิจตรงวิลล์ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
ในการนี้  จังหวัดศรีสะเกษ โดย สสจ.ศรีสะเกษ จึงขอเชิญผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่เข้าร่วมโครงการLong Term Care เข้าร่วมประชุมตามวัน เวลา และสถานที่ดังกล่าว โดยเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการจากต้นสังกัด

*** กรอกชื่อเข้าร่วมฯ คลิก 

ที่มา : ที่ ศก0032.007/ว 7353 ลง 16 พ.ค. 2560 เรื่อง ขอเชิญประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาระบบ Long Term Care