"ขุขันธ์ เมืองเก่า ชนทุกเผ่าสามัคคี บารมีพระแก้วเนรมิตวัดลำภู คู่หลวงพ่อโตวัดเขียน กระอูบ เกวียน ครุน้อย เครื่องจักสาน ปราสาทโบราณเป็นศรี ประเพณีแซนโฎนตา"
ข้อมูลหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น(กปท.)
 

วาระการประชุมงานควบคุมโรค 7 ธันวาคม 2559

วาระการประชุมงานควบคุมโรค 7 ธันวาคม 2559 ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอขุขันธ์
. สถานการณ์โรคไข้เลือดออก
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทยขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ ๑ ม.ค. ๒๕๕๙ - ๑๗ ต.ค. ๕๙ พบผูปวย ๔,๙๒๕๒ ราย จาก ๗๗ จังหวัด คิดเปนอัตราปวย ๗๕.๒๘ ตอ แสนประชากร เสียชีวิต ๔๒ ราย
คิดเปนอัตราตาย ๐.๐๖ ตอแสนประชากร อัตราสวน เพศชายตอเพศหญิง ๑: ๐.๙๘ กลุมอายุที่พบมากที่สุด
เรียงตามลําดับ คือ ๑๕-๒๔ ป (๒๔.๗๔ %) ๑๐-๑๔ ป (๑๗.๑๐ %) ๒๕-๓๔ ป (๑๕.๕๐ %) สัญชาติเปนไทย
รอยละ๙๗.๒ พมารอยละ ๑.๔ อื่นๆ รอยละ ๐.๙ กัมพูชารอยละ ๐.๒ ลาวรอยละ ๐.๒ จีน/ฮองกง/ไตหวัน
รอยละ ๐.๑ เวียดนามรอยละ ๐.๐ มาเลเซียรอยละ ๐.๐ อาชีพสวนใหญ นักเรียนรอยละ ๔๒.๘ รับจางรอยละ ๑๙.๑ ไมทราบอาชีพ/ในปกครองรอยละ ๑๘.๗ จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด ๕ อันดับแรกคือ       แมฮองสอน (๓๕๗.๑๓ ตอแสนประชากร) เชียงใหม (๒๕๒.๘๑ ตอแสนประชากร) สงขลา (๒๐๑.๘๖ ตอแสน  ประชากร) พัทลุง (๑๗๑.๐๒ ตอแสนประชากร) บึงกาฬ (๑๕๑.๐๙ ตอแสน ประชากร) ภาคที่มีอัตราปวยสูงสุด คือ ภาคใต ๑๐๗.๒๔ ตอแสน ประชากร ภาคเหนือ ๙๗.๑๙ ตอแสนประชากร ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ๖๓.๘๓ ตอแสนประชากร ภาคกลาง ๖๑.๕๓ ตอแสน ประชากรตามลําดับ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดศรีสะเกษ ระหว่างวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๙ ถึงวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๙  พบผู้ป่วยจำนวนทั้งสิ้น ๑๑๘๗ ราย  คิดเป็นอัตราป่วย ๘๑.๐๑ ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียชีวิต ๒  ราย 
ที่อำเภอขุขันธ์ และอำเภอวังหิน อำเภอละ ๑ ราย อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ    ๐.๑๔   อัตราผู้ป่วยตายเท่ากับร้อยละ  ๐.๑๗ เป็นลำดับที่  ๒๙ ของจังหวัดที่พบอัตราป่วยสูงสุด  อัตราส่วนเพศชาย ต่อ เพศหญิง  เท่ากับ ๑.๑๕ : ๑ กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ ๑๐ - ๑๔  ปี  (๒๖๕.๙  ต่อแสน
ประชากร)  รองลงมาคือ กลุ่มอายุ
๕-๙ ปี (๒๗๕.๗๓  ต่อแสนประชากร)
,กลุ่มอายุ ๑๕ - ๒๔ ปี (๑๒๘.๕๔  ต่อแสนประชากร),กลุ่มอายุ ๐ - ๔ ปี (๘๔.๘๘  ต่อแสนประชากร) และกลุ่มอายุ ๒๕ - ๓๔  ปี (๕๒.๔๕  ต่อแสนประชากร)  อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ  นักเรียน  จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ  ๕๗๔  ราย รองลงมาคือ เกษตร (๒๒๗  ราย) , ไม่ทราบอาชีพ/
ในปกครอง (๑๔๐  ราย)
,บุคลากรสาธารณสุข (๑๐๘  ราย) และอื่นๆ (๖๕  ราย) อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด  ๕ อันดับแรก คือ อำเภอปรางค์กู่อัตราป่วย ๑๑๖.๑๔  ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออำเภอขุนหาญ  (๑๑๑.๔๒  ต่อแสนประชากร), อำเภอเบญจลักษ์(๑๐๐.๓๕ ต่อแสนประชากร),อำเภอบึงบูรพ์  (๘๔.๐๔  ต่อแสนประชากร) และอำเภอกันทรลักษ์  (๙๙.๒ ต่อแสนประชากร)
อำเภอขุขันธ์ อัตราป่วยอยู่ลำดับที่ 12  ผู้ป่วย 116 ราย อัตราป่วย 77.24 ต่อ ปชก.แสนคน
ข้อมูลผู้ป่วยในเดือนกันยายนที่ผ่านมาก จะพบว่าจังหวัดศรีสะเกษมีจำนวนผู้ป่วยที่ลดลงแต่ยังมากกว่าค่ากลาง(Median)  ซึ่งถือว่ายังมีการระบาดอยู่ จำเป็นต้องมีการเฝ้าระวังสถานการณ์โรคอย่างเข้มข้นเพราะปลายฤดูฝน ยังมีน้ำขังในภาชนะต่างๆ เป็นแหล่งแพร่พันธุ์ของยุงลาย ดังนั้นสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ  จึงขอความร่วมมือจากผู้บริหารสาธารณสุข  ให้ความสำคัญและกำกับติดตามกิจกรรมการดำเนินงานควบคุมไข้เลือดออก  โดยเน้นการควบคุมไม่ให้มีผู้ป่วยระรอกที่ ๒  ส่งเสริมสนับสนุนให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในหน่วยงาน  จัดกิจกรรมดำเนินงานส่งเสริมให้ประชาชน ร่วมมือกัน ดูแลสภาพแวดล้อม และควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง  ลดค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน ชุมชน ทำให้ วัด โรงเรียนและหน่วยงานปลอดลูกน้ำยุงลาย
       
. สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสซิกา        
สถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสซิกาในประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ ๑ ม.ค.- ๓๐ ก.ย. ๕๙ พบผู้ป่วยแล้ว ๓๙๒ ราย ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา พบผู้ป่วยรายใหม่ ๔๓ ราย แนวโน้มผู้ป่วยแต่ละสัปดาห์คงที่ใกล้เคียงกัน
ซึ่งสามารถควบคุมโรคได้โดยพบผู้ป่วยในบางอำเภอ บางจังหวัดเท่านั้น  จังหวัดศรีสะเกษ ปี ๒๕๕๙ ยังไม่พบการติดเชื้อไวรัสซิกา
การเฝ้าระวังในพื้นที่  เน้นมาตรการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ในกลุ่มประชากร ๔ กลุ่ม ดังนี้  ) หญิงตั้งครรภ์ที่มีไข้ออกผื่น ) ผู้ป่วยที่มีไข้ออกผื่นที่มีการป่วยเป็นกลุ่มก้อน ) ทารกที่มีความผิดปกติศีรษะเล็ก ) กลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร (Guillain-Barre syndrome) และ ผู้ป่วยโรคทางระบบประสาท อักเสบอื่นๆ    
เมื่อพบผู้ป่วยที่เข้าได้กับนิยาม PUI ที่ในสถานพยาบาลทุกประเภททั้งภาครัฐและเอกชนสถานพยาบาลทุกระดับ ต้องสอบสวนโรคภายใน  ๒๔ ชั่วโมงหลังพบผู้ป่วย ตามแบบสอบสวนโรคเฉพาะรายของกรมควบคุมโรค และแจ้งไปยัง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และกรมควบคุมโรค ตามลำดับ พร้อมทั้งเก็บตัวอย่างส่งตรวจเพื่อยืนยันผลการวินิจฉัยที่จะระบุถึงสาเหตุ  ของผู้ป่วยที่เข้านิยาม PUI ดังกล่าว และเพื่อเป็นการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อ Zika virus   โดยมีแนวปฏิบัติดังนี้ ๑. ทีมสอบสวนโรคเก็บตัวอย่างจากผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์ ๔ กลุ่ม  ที่เข้านิยาม PUI  ๒.ผู้ป่วยไข้ออกผื่นที่มีการป่วยเป็นกลุ่มก้อนให้เก็บตัวอย่างไม่เกิน ๑๐ รายต่อหนึ่งกลุ่มก้อน  ในการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกานั้น  เสนอแนะให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องติดตามความรู้และแนวทางต่างจากเว็บไซด์สำนักระบาดวิทยา โดยสามารถเข้าถึงได้ที่  http://๒๐๓.๑๕๗.๑๕.๑๑๐/boe/zika.php
          ผลการเฝ้าระวังในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ  ทำการส่งตัวอย่างกลุ่มผู้ป่วยเข้านิยาม PUI จำนวน  ๙ ราย จำแนกเป็นรายอำเภอ  ดังนี้

อำเภอ
จำนวนผู้ป่วย(ราย)
หมายเหตุ
เมืองศรีสะเกษ
แพทย์ ๑ ราย , นักศึกษาแพทย์ ๑ ราย
กันทรลักษ์
ผู้ป่วยเด็ก AFP
ภูสิงห์
แพทย์ ๑ ราย , หญิงตั้งครรภ์ ๑ ราย
โนนคูณ
หญิงตั้งครรภ์ ๑ ราย
         

ผู้ป่วยทั้ง ๙ รายได้รับการเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการทุกราย  ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการไม่พบการติดเชื้อไวรัสซิกา  แต่อย่างไรก็ตามยังจำเป็นต้องทำการค้นหาผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการเฝ้าระวังโรค โดยรหัสวินิจฉัยที่ใช้ในการค้นหาเฝ้าระวังที่หน่วยบริการที่จำเป็นต้องทำการค้นหา เดือนละ ๑ ครั้ง 
ลำดับ
รหัสวินิฉัย
ชื่อโรค
A๙๐
Dengue Fever
B๐๕
Measles
B๐๖
Rubella
B๐๙
Viral Examthem
U๐๖.
Zika Fever
R๒๑
Maculopapular Rash
Q๐๒
Microcephaly
         
แนวทางดำเนินการคือ เมื่อค้นพบ ผู้ป่วยในระบบให้บริการที่สถานบริการให้ดำเนินการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสซิกา ตามแนวทางของกรมควบคุมโรค สามารถติดตามศึกษาแนวทางเพิ่มเติมได้ที่  http://๒๐๓.๑๕๗.๑๕.๑๑๐/boe/zika.php หัวข้อ แนวทาง/มาตรการ
 
          . สถานการณ์โรคมือเท้าปาก 
 สถานการณ์โรคมือเท้าปาก  ประเทศไทยขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ ๑ ม.ค. ๒๕๕๙ - ๑๖ ต.ค. ๕๙ พบผูปวย ๗๐,๐๗๐ ราย จาก ๗๗ จังหวัด คิดเปนอัตราปวย ๑๐๗.๑๐ ตอ แสนประชากร เสียชีวิต ๓ ราย อัตรา   สวน เพศชายตอเพศหญิง ๑: ๐.๗๓ กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ ๑ ป (๒๖.๙๙ %) ๒ ป (๒๔.๗๘ %) ๓ ป (๑๘.๙๕ %) สัญชาติเปนไทยรอยละ ๙๘.๒ อื่นๆรอยละ ๐.๙ พมารอยละ ๐.๖ กัมพูชารอยละ ๐.๒ ลาว  รอยละ ๐.๑ จีน/ ฮองกง/ไตหวันรอยละ ๐.๐ มาเลเซียรอยละ ๐.๐ เวียดนามรอยละ ๐.๐ อาชีพสวนใหญ ไมทราบอาชีพ/ในปกครองรอยละ ๘๗.๙ นักเรียน รอยละ ๑๐.๕ อื่นๆรอยละ ๑.๑ จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสน  ประชากรสูงสุด ๕ อันดับ แรกคือ สระบุรี(๒๗๓.๗๗ ตอแสนประชากร) นาน (๒๕๒.๒๕ ตอ แสนประชากร) ระยอง (๒๕๐.๕๕ ตอแสนประชากร) เชียงราย (๒๔๗.๙๐ ตอแสนประชากร) พิษณุโลก (๒๒๓.๘๘ ตอแสน ประชากร)
สถานการณ์โรคมือเท้าปาก  จังหวัดศรีสะเกษ  ระหว่างวันที่  ๑ มกราคม ๒๕๕๙  ถึงวันที่  ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๙ พบผู้ป่วยจำนวนทั้งสิ้น ๑๐๘๐ ราย  คิดเป็นอัตราป่วย   ๗๓.๗๑  ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต อัตราส่วนเพศชาย ต่อ เพศหญิง  เท่ากับ ๑.๕๒ : ๑  กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ  ๐ - ๔  ปี  (๑๑๖๔.๒  ต่อแสนประชากร)  รองลงมาคือ  กลุ่มอายุ    ๕ - ๙  ปี  (๔๘.๘๕  ต่อแสนประชากร) , กลุ่มอายุ    ๑๐ - ๑๔  ปี (๙.๒  ต่อแสนประชากร) , กลุ่มอายุ ๑๕ - ๒๔  ปี (๔.๘๖  ต่อแสนประชากร) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ  ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง  จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ  ๑๐๒๓  ราย  รองลงมาคือ   นักเรียน (๔๖  ราย) , บุคลากรสาธารณสุข (๖  ราย) , อื่นๆ (๔  ราย) และข้าราชการ (๑  ราย)  อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด  ๕ อันดับแรก  คือ  อำเภอโนนคูณอัตราป่วย  ๑๘๘.๗๙  ต่อแสนประชากร  รองลงมาคืออำเภอขุนหาญ  (๑๖๐.๑๑  ต่อแสนประชากร) , อำเภอเบญจลักษ์  (๑๒๗.๔๗  ต่อแสนประชากร) , อำเภอไพรบึง  (๑๒๖.๖๗  ต่อแสนประชากร) และอำเภอบึงบูรพ์  (๑๒๑.๓๙  ต่อแสนประชากร)
จากข้อมูลผู้ป่วยที่เพิ่มมากขึ้นและส่วนใหญ่เป็นเด็กโดยเฉพาะเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในช่วงฤดูฝน
จะพบผู้ป่วยมากขึ้น  ควรดำเนินการให้เกิดความร่วมมือของครูพี่เลี้ยงเด็กและผู้ปกครองในการคัดกรองอาการเด็กหากมีอาการป่วยหรือสงสัย ให้ได้รับการรักษาอย่างรวดเร็วและเน้นความสะอาดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

๔. สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรซีส
สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรซีสประเทศไทยขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ ๑ ม.ค. ๒๕๕๙ - ๑๘ ก.ย. ๕๙ พบผูปวย ๑,๓๐๕  ราย  จาก ๖๑  จังหวัด คิดเปนอัตราปวย ๑.๙๙  ตอแสนประชากร  เสียชีวิต ๒๒ ราย คิดเปนอัตราตาย ๐.๐๓ ตอแสนประชากร  อัตราสวนเพศชายตอเพศหญิง ๑: ๐.๒๗  กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ ๔๕ - ๕๔  ป (๑๙.๖๙ %) ๓๕ - ๔๔ ป (๑๘.๙๓ %) ๕๕ - ๖๔ ป (๑๖.๗๘ %) สัญชาติเปนไทยรอยละ ๙๘.๘ พมารอยละ ๑.๑  อื่นๆ รอยละ ๐.๑ อาชีพสวนใหญ เกษตรรอยละ ๔๙.๓ รับจางรอยละ ๒๐.๒ นักเรียนรอยละ ๑๐.๗ จังหวัด  ที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด ๕ อันดับ แรกคือ ระนอง (๒๑.๓๙ ตอแสนประชากร)      ศรีสะเกษ (๑๓.๙๗  ตอ แสนประชากร) พัทลุง (๙.๒๐ ตอแสนประชากร) นครศรี ธรรมราช (๗.๗๔ ตอแสน
ประชากร)  กาฬสินธุ(๗.๑๑ ตอแสน ประชากร) ภาคที่มีอัตราปวยสูงสุด คือ ภาคใต ๔.๗๕ ตอแสน ประชากร    ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓.๑๒ ตอแสนประชากร ภาคเหนือ ๑.๓๔ ตอแสนประชากร ภาคกลาง ๐.๑๑ ตอแสน ประชากรตามลําดับ
สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรซีสจังหวัด ศรีสะเกษ  ระหว่างวันที่  ๑ มกราคม ๒๕๕๙  ถึงวันที่  ๒๒ กันยายน ๒๕๕๙  พบผู้ป่วยโรค  Leptospirosis  จำนวนทั้งสิ้น ๑๘๖ ราย  คิดเป็นอัตราป่วย   ๑๒.๖๙  ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียชีวิต ๖  ราย   อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ    ๐.๔๑   อัตราผู้ป่วยตายเท่ากับร้อยละ  ๓.๒๓ อัตราส่วนเพศชาย ต่อ เพศหญิง  เท่ากับ ๕.๖๔ : ๑  กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ ๔๕ - ๕๔  ปี  (๕๔  ต่อแสนประชากร)  รองลงมาคือ  กลุ่มอายุ   ๕๕ - ๖๔  ปี  (๔๐  ต่อแสนประชากร) ,     กลุ่มอายุ ๓๕ - ๔๔  ปี (๓๙  ต่อแสนประชากร) , กลุ่มอายุ ๑๕ - ๒๔  ปี (๒๒  ต่อแสนประชากร) และกลุ่มอายุ ๒๕ - ๓๔  ปี (๑๙  ต่อแสนประชากร) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ เกษตร จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ  ๑๔๓  ราย  รองลงมาคือ   ข้าราชการ (๑๓  ราย) , บุคลากรสาธารณสุข (๑๐  ราย),นักเรียน (๙  ราย) และรับจ้างกรรมกร (๔  ราย)  อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด  ๕ อันดับแรก  คือ  อำเภอปรางค์กู่  อัตราป่วย  ๒๔.๙๙  ต่อแสนประชากร  รองลงมาคืออำเภอขุขันธ์ 37 ราย (๒๔.๖๔  ต่อแสนประชากร) , อำเภออุทุมพรพิสัย  (๒๑.๔๖  ต่อแสนประชากร) , อำเภอขุนหาญ  (๒๐.๖  ต่อแสนประชากร) และอำเภอห้วยทับทัน  (๑๙.๐๔       ต่อแสนประชากร) 
จากข้อมูลดังกล่าวบ่งชี้ว่าอาชีพที่เป็นกลุ่มเสี่ยงได้แก่อาชีพเกษตรกรรม และมีอายุมาก  ซึ่งเป็นกลุ่ม   ที่ภูมิคุ้มกันในร่างกายลดลงตามวัย  เชื้อก่อโรคได้อาศัยอยู่ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและแหล่งน้ำในธรรมชาติ   ดังนั้นหน่วยงานด้านสาธารณสุขและหน่วยงานด้านประชาสัมพันธ์  มีความจำเป็นต้องดำเนินการเฝ้าระวัง  ประชาสัมพันธ์  เผยแพร่    เน้นให้ประชาชนให้มีความรู้ และปฏิบัติตัวเพื่อลดการติดเชื้อ เน้นหลังจากดำเนินกิจกรรมทางการเกษตร  ที่สัมผัสแหล่งน้ำในธรรมชาติ แล้วให้อาบน้ำชำระร่างกายให้สะอาดทันที  หน่วยบริการในพื้นที่ใช้เครื่องมือในการ  คัดกรองผู้ป่วยสงสัยโรคเลปโตสไปโรซีส  เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการตรวจพบ  และให้การรักษาอย่างทันท่วงที เป็นการลดจำนวนผู้ป่วยได้ในระยะยาว  

๕. งานระบาดวิทยา   
.๑ เฝ้าระวังรายงาน ๕๐๖
นับตั้งแต่ ๑ –๒๒ ตุลาคม  ๒๕๕๙  โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ๑๐ อันดับแรก  ได้แก่ ไข้ไม่ทราบสาเหตุ  โรคอุจจาระร่วง  ปอดบวม  ตาแดง  อาหารเป็นพิษ    STD(Sexual  Transmitted  Disease)   ไข้หวัดใหญ่  ไข้เลือดออก  สุกใส   และมือเท้าปาก ตามลำดับ  การส่งรายงาน ๕๐๖ ในเดือน  ตุลาคม ๒๕๕๙ ภาพรวมทั้งหมดมีการส่งรายงาน ๖,๔๖๗ ราย ส่งทันเวลา  ๕,๗๘๓    ความทันเวลาร้อยละ ๘๙.๔๒ จำแนกเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่มีรายงานผู้ป่วย  ๒๐๗ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๘๑.๘๒  ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทั้งหมด  ส่งข้อมูลบัตรรายงานโรคทั้งหมด ๑,๑๖๕  มีความทันเวลา    ร้อยละ  ๙๖.๗๐ และโรงพยาบาลที่มีรายงานผู้ป่วย  ๒๓ แห่ง  คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ ของโรงพยาบาลทั้งหมด  ส่งข้อมูลบัตรรายงานโรคทั้งหมด ๕,๑๒๙ มีความทันเวลาร้อยละ  ๘๖.๗๐  (รายละเอียดตามภาคผนวก)

          .๒  ข้อมูลผู้ป่วยที่ต้องทำการสอบสวนโรค
 มีผู้ป่วยที่ต้องทำการสอบสวนโรค  ตามหลักเกณฑ์ของสำนักระบาด  ข้อมูลเฝ้าระวังโรคติดต่อโปรแกรม r๕๐๖  จังหวัดศรีสะเกษ  ตั้งแต่วันที่ ๑๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๙  มีผู้ป่วยที่ต้องดำเนินการสอบสวนโรคจำนวนทั้งสิ้น  ๑๑๔ ราย ใน ๒๑  อำเภอ มี ๖ โรค ๗รหัสโรค ในระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ รง ๕๐๖ ที่ต้องสอบสวนโรคมากที่สุดคือไข้เลือดออก จำนวน ๕๘ ราย  จำแนกเป็น Dengue fever  จำนวน  ๕๒ ราย   D.H.F.  จำนวน  ๖  ราย  รองลงมาคือ leptospirosis จำนวน  ๔๒  ราย ไข้สมองอักเสบ  มาลาเรีย  และ AFP เท่ากัน  จำนวน ๔ ราย 
ดังนั้นขอให้ SRRT  แต่ละอำเภอร่วมกับพื้นที่ในการดำเนินการควบคุมโรคพร้อมทั้งดำเนินการสอบสวนโรคและเขียนรายงานสอบสวนโรคส่งสำนักงานสาธาณสุขจังหวัดศรีสะเกษ  เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์และใช้ร่วมกับการควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพได้มาตรฐานต่อไป  (เอกสารรายชื่อผู้ป่วยต้องสอบสวนโรค ส่งไปที่อีเมล์เครือข่าย SRRT ระดับอำเภอทุกอำเภอ)  รายละเอียดตามตารางที่ ๒ 
ตารางที่  ๒  จำนวนผู้ป่วยที่ต้องทำการสอบสวนโรคตามเกณฑ์การสอบสวนโรคของสำนักระบาดวิทยา  ปี ๒๕๕๙  พื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ จำแนกตามอำเภอและโรคที่ต้องสอบสวน ประจำเดือน  ตุลาคม  

(๑ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๙)    

วาระการประชุมประจำเดือนธันวาคม 2559 ออนไลน์(อ.สุเพียร)

งานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
1. จังหวัดศรีสะเกษ และ สสจ.ศรีสะเกษ ขอความร่วมมือจากส่วนราชการทุกหน่วยงาน และหน่วยงานของท่านร่วมกิจกรรมลด คัดแยกขยะมูลฝอย หรือการนำขยะมูลฝอยไปใช้ประโยชน์ โดยให้รายงานทุกวันที่ 25 ของเดือน จนถึงสิ้นปีงบประมาณ 2560
           ดังนั้น สสอ.ขุขันธ์ จึงขอความร่วมมือ รพ.สต.ทุกแห่งในสังกัดดำเนินการตามแนวทางการปฏิบัติงานด้านบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน "จังหวัดสะอาด" และดำเนินการรายงานผลการดำเนินการด้านบริหารจัดการขยะมูลฝอย "จังหวัดสะอาด" 3rs -​ ประชารัฐ ทุกเดือน โดยเริ่มตั้งแต่เดือน ต.ค. 2559- ก.ย. 2560 ให้จงได้ 

 งานผลการดำเนินการด้านบริหารจัดการขยะมูลฝอย "จังหวัดสะอาด" 3rs คลิกที่นี่  
และสามารถตรวจสอบรายงานได้โดยคลิกที่ ลิงก์นี้ 


 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 คลิกที่นี่
 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550 คลิกที่นี่
 แบบคำขอมีบัตรประจำตัวเจ้าพนักงานสาธารณสุข ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 คลิกที่นี่...Word  PDF 

หมายเหตุ ใช้รูปถ่ายข้าราชการที่ถ่ายมาแล้วไม่เกิน 6 เดือน(ขาวดำ หรือสี) จำนวน 2 รูป สำหรับติดแบบคำขอฯและบัตรประจำตัวเจ้าพนักงานสาธารณสุข

ที่มา :หนังสือ สสจ.ศรีสะเกษ ที่ ศก 0032.012/ว.7050 ลง 22 พ.ย. 2559 เรื่อง แจ้งแนวทางการขอมีบัตรประจำตัวเจ้าพนักงานสาธารณสุข ตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535


 กฎกระทรวง กําหนดค่าธรรมเนียมการออกใบอนุญาต หนังสือรับรองการแจ้ง และการให้บริการในการจัดการสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย พ.ศ. ๒๕๕๙ เพื่อประกอบการดำเนินงานและให้คำปรึกษาแก่ อปท.ในพื้นที่  คลิกที่นี่

ที่มา :หนังสือ สสจ.ศรีสะเกษ ที่ ศก 0032.012/ว 7050 ลง 22 พ.ย. 2559 เรื่อง ส่งกฏกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียม การออกใบอนุญาต หนังสือรับรองการแจ้ง และการให้บริการในการจัดการสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย พ.ศ. ๒๕๕๙

 รายงานcarbonfootprint ราย รพ.สต.ปีงบประมาณ 2560 
สสอ.ขุขันธ์              # 56 ปรือใหญ่                  # 66 ปราสาท
30 ร.พ.ขุขันธ์           # 57 ปรือคันตะวันออก    # 67 บ่อทอง
48 โคกโพน             #58 ทับทิมฯ 06               # 68 สำโรงตาเจ็น
49 ตะเคียนบังอิง     # 59 หนองลุง                  # 69 นาก๊อก
50 จะกง                  # 60 สมบูรณ์                    # 70 กฤษณา
51 ใจดี                    # 61 หัวเสือ                     # 71 วิทย์
52 กันจาน               # 62 ตะเคียนช่างเหล็ก    # 72 ตรอย
53 อาวอย               # 63 กวางขาว          # 73 นิคมซอยกลาง
54 หนองคล้า         # 64 คลองกลาง       # 74 โนน
55 ขนุน                  # 65 โคกเพชร  


งานดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยกลุ่มพิเศษและLTC
1. กำหนดการอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุ หลักสูตร 70 ชั่วโมงของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จัดโดยเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอขุขันธ์
         อบรมภาคทฤษฎี      ระหว่างวันที่ 13 -16  ธันวาคม 2559
         ออกฝึกปฏิบัติงานฯ ระหว่างวันที่ 19 -22  ธันวาคม 2559

หมายเหตุ -พรุ่งนี้ 8 ธ.ค. 2559 เวลา 13.30​ น. ขอเชิญทีมงานวิทยากรหลัก
ร่วมประชุมเตรียมการ ดังมีรายนามต่อไปนี้
          1) นาง สุทิสา นิลเพชร      พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต.กวางขาว
          2) นาง เพ็ญทิวา สารบุตร  นวก.สาธารณสุข รพ.สต.โคกเพชร
          3) น.ส. อภิรดี  อินทรบุตร  พยาบาลวิชาชีพฯ  รพ.สต.หนองลุง
          4) นายกอบศักดิ์  พิมานแพง พยาบาลวิชาชีพฯ  รพ.สต.ทับทิมสยาม 06

 แบบฟอร์มสมัครฝึกอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นทางการ คลิกที่นี่ ไฟล์JPG , PDF 
ขอความร่วมมือให้ ผอ.รพ.สต.ในสังกัด สสอ.ขุขันธ์ เป็นผู้ตรวจสอบ/รับรองคุณสมบัติ ของผู้อบรมตามที่ได้เคยส่งมาแล้วอีกครั้งหนึ่ง ว่ามีคุณสมบัติตามเกณ 6 ข้อด้านล่างนี้หรือไม่ ? แล้วโหลดแบบฟอร์มใบสมัครพิมพ์ให้ผู้สมัคร ลงนามในใบสมัครอีกครั้ง แล้วผอ.รพ.สต.เป็นผู้ลงนามตรวจสอบ/รับรองคุณสมบัติและรวบรวมมาส่งให้ หน.งานดูแลผู้สูงอายุ สสอ.ขุขันธ์ ภายในวันศุกร์ที่ 9 ธันวาคม 2559 นี้

 ตรวจสอบรายชื่อผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เคยได้ส่งรายชื่อมาแล้ว คลิกที่นี่
คุณสมบัติผู้เข้ารับการอบรมผู้ดูแลผู้สุงอายุที่เป็นทางการ(CG 70 ชั่วโมง) 
1. มีประสบการณ์ในการดูแลผู้สูงอายุไม่น้อยกว่า 1 ปี
โดยมีหนังสือรับรองจากโรงเรียน สถาบัน หรือสถานประกอบการที่เกี่ยวข้อง
2. มีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์ไม่จำกัดเพศ
3. จบการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า
4. ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือบกพร่องในศีลธรรมอันดี
5. มีสุขภาพแข็งแรงไม่เป็นโรคร้ายแรงหรือโรคติดต่อร้ายแรง
6. มีวุฒิภาวะและบุคลิกลักษณะเหมาะสมในการเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุ

 กรอกส่งรายชื่อสมัครฝึกอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ หลักสูตร 70 ชั่วโมง คลิกที่นี่
ตรวจสอบข้อมูล คลิกที่นี่

 กำหนดการตารางการฝึกอบรมนักบริบาลผู้สูงอายุ Care Giver : CG    หลักสูตร 70 ชั่วโมง : หลักสูตรของกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข   (รพ.สต.พื้นที่) คลิกที่นี่
*** ภาคทฤษฎี : ระหว่างวันที่ 13 - 16 ธันวาคม 2559
*** ภาคปฏิบัติ : ระหว่างวันที่ 19 - 22 ธันวาคม 2559

หลักสูตรการอบรมฯ แบ่งออกเป็นภาคทฤษฎี 40 ชั่วโมง  และปฏิบัติ 30 ชั่วโมง(10 วัน) มีหัวข้อเนื้อหา ดังต่อไปนี้
    1.ชี้แจงวัตถุประสงค์และทดสอบก่อนการอบรม (ทฤษฎี 1 ช.ม.)
    2. ความจำเป็นของการดูแลผู้สูงอายุ(ทฤษฎี 1 ช.ม.)
    3. แนวคิดเกี่ยวกับผู้สูงอายุ(ทฤษฎี 1 ช.ม.)
    4. โรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ(ทฤษฎี 2 ช.ม. ปฏิบัติ 1 ช.ม.)
    5. ภาวะวิกฤติกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น(ทฤษฎี 2 ช.ม. ปฏิบัติ 2 ช.ม.)
    6. การช่วยเหลือเบื้องต้น (การตรวจร่างกายเบื้องต้น การเช็ดตัวลดไข้ การทำแผลไข้ (ทฤษฎี 3 ช.ม. ปฏิบัติ 2 ช.ม.)
    7. การช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้จากการชราภาพ(ทฤษฎี 4 ช.ม.ปฏิบัติ 7 ช.ม.)
    8. สุขภาพจิตกับผู้สูงอายุการดูแลตนเองเพื่อคลายเครียด(ทฤษฎี 3 ช.ม.ปฏิบัติ 2 ช.ม.)
    9. การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม(ทฤษฎี 1 ช.ม.)
    10. การใช้ยาในผู้สูงอายุ (ทฤษฎี 2 ช.ม.)
    11. สิทธิการดูแลผู้สูงอายุตามรัฐธรรมนูญ/กฎหมาย(ทฤษฎี 1 ช.ม.)
    12. การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอาหารและโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ (ทฤษฎี 2 ช.ม.ปฏิบัติ 1 ช.ม.)
    13. การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุการออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ(ทฤษฎี 2 ช.ม.ปฏิบัติ 1 ช.ม.)
    14. การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุการดูแลสุขภาพช่องปาก(ทฤษฎี 2 ช.ม.ปฏิบัติ 1 ช.ม.)
    15. ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการดูแลผู้สูงอายุ(ทฤษฎี 1 ช.ม.ปฏิบัติ 1 ช.ม.)
    16. บทบาทและจริยธรรมของผู้ดูแลผู้สูงอายุ(ทฤษฎี 1 ช.ม.)
    17. การจัดกิจกรรมนันทนาการเพื่อผู้สูงอายุ(ทฤษฎี 1 ช.ม.ปฏิบัติ 1 ช.ม.)
    18. การฝึกปฏิบัติงานในชุมชนและสถานบริการ(ทฤษฎี 10 ช.ม.ปฏิบัติ 10 ช.ม.)
    19. การวัดผลประเมินผลการศึกษา(ทฤษฎี 1 ช.ม. ปฏิบัติ 1 ช.ม.)

2. การดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ LTC
ปีงบประมาณ 2560 คลิกที่นี่

ที่มา :หนังสือ สสจ.ศรีสะเกษ ที่ ศก 0032/21017 15 พฤศจิกายน 2559 การดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ LTC

3. ข้อมูลรายชื่ออาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ(Care Giver 70 ชั่วโมง) ที่ผ่านการอบรมแล้ว ปีงบประมาณ 2559 (จัดโดย กศน.อำเภอขุขันธ์)  ใบประกาศมาแล้ว ให้ติดต่อขอรับจาก อ.สุเพียร ครับ...ดังมีรายชื่อ ต่อไปนี้
ลำดับคำนำหน้าชื่อ - สกุล
1น.ส.มณีวิมล กะตะศิลา
2น.ส.วิเชียร เพ็ชรัตน์
3นางวนิดา ฉิมพินิจ
4นางต้อม ทูขุนทด
5นางไพรวรรณ เมืองรัก
6นางกาญจนา หาญพิทักษ์
7นางอลิสา รสหอม
8นางสม คำสอน
9น.ส.จันทวรรณ บุญธรึ
10นางนวนสวรรณ์ มูลจัด
11น.ส.นงค์ลักษ์ ศรีเลิศ
12นางจิราพร แพงมาก
13นางเสน่ห์ ภูมี
14นางกชกร ใจศรี
15นางเขี่ยม ไกรวิเศษ
16น.ส.กาญจนา สุดสังข์
17น.ส.ประไพ หงษ์โสภา
18น.ส.นัยน์ปพร ไชยศรีษะ
19นางรัศมีย์ ศรีลาชัย
20นางทองสอน ปิ่นหอม
21นางบัวไล แจ่มศรี
22นางกันยา สอนพูด

4. ขอเชิญวิทยากรในการอบรมหลักสูตรผุ้ดูแลผู้สูงอายุ หลักสูตร 70 ชั่วโมง (ณ กศน.อำเภอขุขันธ์)  รับใบประกาศ จาก สสอ.ขุขันธ์  ดังมีรายนามดังต่อไปนี้