"ขุขันธ์ เมืองเก่า ชนทุกเผ่าสามัคคี บารมีพระแก้วเนรมิตวัดลำภู คู่หลวงพ่อโตวัดเขียน กระอูบ เกวียน ครุน้อย เครื่องจักสาน ปราสาทโบราณเป็นศรี ประเพณีแซนโฎนตา"
ข้อมูลหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น(กปท.)
 

คณะเจ้าหน้าที่ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขอำเภอขุขันธ์ ขอแสดงความยินดีกับ นายสำรวย เกษกุล นายอำเภอขุขันธ์ ในโอกาสที่ท่านได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี พ.ศ.2559

         คณะเจ้าหน้าที่ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขอำเภอขุขันธ์ ขอแสดงความยินดีกับ นายสำรวย เกษกุล นายอำเภอขุขันธ์ ในโอกาสที่ท่านได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี พ.ศ.2559 ที่ประจำทำงานอยู่ในส่วนภูมิภาค

ขอบคุณที่มา : ไทยรัฐออนไลน์ http://www.thairath.co.th/content/920671http://www.thairath.co.th/content/920671

กลุ่มงานควบคุมโรค

1. สถานการณ์โรคไข้เลือดออก
ประเทศไทย  ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.. - 13  มี.. 2560 พบผูปวย 6,008 ราย จาก 77 จังหวัด คิดเปนอัตราปวย 9.18 ตอแสน ประชากร เสียชีวิต 6 ราย คิดเปนอัตราตาย 0.01 ตอแสน
ประชากร อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.10  อัตราสวนเพศชายตอเพศหญิง 1: 0.97 กลุมอายุที่พบมากที่สุด
เรียงตามลําดับ คือ 15-24 ป (25.52 %)     10-14 ป (20.14 %)  25-34 ป (14.86 %) อาชีพสวนใหญ  นักเรียนรอยละ 47.3  รับจางรอยละ 18.6        ไมทราบอาชีพ/ในปกครองรอยละ 17.8 จังหวัดที่มีอัตรา
ปวยตอแสนประชากรสูงสุด 5 อันดับ แรกคือ สงขลา (108.26 ตอแสนประชากร)  ปตตานี  (76.51 ตอแสน
ประชากร)  พัทลุง  (73.62 ตอแสนประชากร) นราธิวาส (64.83 ตอแสนประชากร) นครศรีธรรมราช (27.80 ตอแสน ประชากร)
จังหวัดศรีสะเกษ  ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.. - 21  มี.. 2560  พบผูปวยจำนวนทั้งสิ้น 45 ราย  คิดเป็นอัตราป่วย   3.09  ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต  อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง  เท่ากับ 1.50 : 1  กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 15 - 24  ปี  (17  ราย)  รองลงมาคือ  กลุ่มอายุ     10 - 14  ปี  (13  ราย), กลุ่มอายุ 65 + ปี (3  ราย), กลุ่มอายุ  5 - 9 ปี (3 ราย) และกลุ่มอายุ 35 - 44  ปี (3  ราย)  อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ  นักเรียน  จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ  21  ราย  รองลงมาคือ   เกษตร (10  ราย) , ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง (8  ราย) , อื่นๆ (2  ราย) และบุคลากรสาธารณสุข (2  ราย)  อำเภอ
ที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด 
5 อันดับแรก  คือ  อำเภอเบญจลักษ์อัตราป่วย  8.2  ต่อแสนประชากร  รองลงมาคืออำเภอขุนหาญ  (6.66  ต่อแสนประชากร), อำเภอไพรบึง  (6.26  ต่อแสนประชากร) ,
อำเภอเมืองจันทร์  (5.59  ต่อแสนประชากร) และอำเภอยางชุมน้อย  (5.42  ต่อแสนประชากร)
โรคไข้เลือดออกเกิดได้ตลอดทั้งปี  ช่วงนี้มีฝนตกในบางพื้นที่  จำเป็นต้องมีการลดภาชนะขังน้ำ โดยการกำจัดขยะมูลฝอย ต่างๆ  ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมรอบบ้านและชุมชน  ตลอดจนการเฝ้าระวังสถานการณ์การเกิดโรคอย่างเข้มข้นต่อเนื่อง  ดังนั้นสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษจึงขอความร่วมมือจากผู้บริหารสาธารณสุขทุกหน่วยบริการ  กำกับ ติดตาม  เจ้าหน้าที่ในข่ายงานเฝ้าระวังโรคติดต่อร่วมกับประชาชน ร่วมมือกันดูแลสภาพแวดล้อม และควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง    ลดค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน  หมู่บ้าน ชุมชน ทำให้ วัด โรงเรียนและหน่วยงานปลอดลูกน้ำยุงลาย และขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมือดำเนินกิจกรรมป้องกันควบคุมโรคด้วยดีมาโดยตลอด

2. การเฝ้าระวังโรคพิษสุนัขบ้า
สถานการณ์ของโรคพิษสุนัขบ้า  จังหวัดศรีสะเกษ  พบผู้ป่วยในปี 2558  จำนวน  2 ราย  ปี 2559  จำนวน ราย  ผู้ป่วยทุกรายเสียชีวิต  และเนื่องจากว่าเป็นโรคที่มีอัตราป่วยตายร้อยละ 100  จึงมีความจำเป็นต้องมีการเฝ้าระวังในกลุ่มผู้ที่สัมผัสสัตว์ที่มีอาการป่วยหรือสัตว์ที่อาจเป็นแหล่งโรคที่อาจทำให้ประชาชนติดเชื้อป่วยและเสียชีวิตได้ 
ในการนี้  สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ  จึงขอความร่วมมือจากหน่วยงานด้านการประชาสัมพันธ์ได้ให้ความรู้ประชาชนผ่านสื่อต่างๆ  เน้นให้ประชาชนที่ถูกสนัขกัด เลีย ข่วน  อย่านิ่งนอนใจให้ไปรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าได้ที่โรงพยาบาลชุมชนในพื้นที่ที่ตนอาศัยอยู่  และประชาสัมพันธ์ปลูกจิตสำนึกของประชาชนในการเลี้ยงสัตว์แบบมีความรับผิดชอบต่อสังคม  หากจะเลี้ยงสุนัข หมา แมว  ต้องมีความพร้อมและพาให้สัตว์เลี้ยงไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า  เพื่อเป็นการลดแหล่งโรคและลดผู้สัมผัสเชื้อ เพื่อเป็นการป้องกันควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3. สถานการณ์โรคมือเท้าปาก
ประเทศไทย  ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.. - 13  มี.. 2560   พบผูป่วย 11,613 ราย จาก 77 จังหวัด คิดเปนอัตราปวย 17.75 ตอแสนประชากร เสียชีวิต 1 ราย อัตราสวนเพศชายตอเพศหญิง
1: 0.74 กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ 1 ป (25.73 %) 2 ป (23.13 %) 3 ป (18.30 %) 
อาชีพสวนใหญ ไมทราบอาชีพ/ในปกครองรอยละ 86.5 นักเรียนรอยละ 12.1 อื่นๆรอยละ 0.6 จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสน ประชากรสูงสุด 5 อันดับ แรกคือ สุราษฎรธานี(54.24 ตอแสนประชากร) จันทบุรี(52.91 ตอแสนประชากร) เลย (48.85 ตอแสน  ประชากร) ลําปาง (39.59 ตอแสนประชากร) แมฮองสอน (37.55 ตอแสนประชากร)


จังหวัดศรีสะเกษ  ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแต่วันที่  1 ม.. - 21  มี.. 2560   พบผู้ป่วยจำนวนทั้งสิ้น 45 ราย  คิดเป็นอัตราป่วย   31.90  ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต  อัตราส่วนเพศชาย     ต่อ เพศหญิง  เท่ากับ 1.55 : 1  กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 0 - 4 ปี (423 ราย)  รองลงมาคือ  กลุ่มอายุ 5 - 9  ปี  (35  ราย) , กลุ่มอายุ 10 - 14  ปี (3  ราย) , กลุ่มอายุ 45 - 54  ปี (2  ราย) และกลุ่มอายุ
25 - 34  ปี (1  ราย)
  อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ  ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง  จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ  430  ราย  รองลงมาคือ   นักเรียน (25  ราย) , อื่นๆ (7  ราย) , เกษตร (1  ราย) และบุคลากรสาธารณสุข   (1  ราย)  อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด  5 อันดับแรก  คือ  อำเภอเมืองจันทร์อัตราป่วย  122.95 ต่อแสนประชากร  รองลงมาคืออำเภอห้วยทับทัน  (120.06  ต่อแสนประชากร) , อำเภอกันทรารมย์  (82.59  ต่อแสนประชากร) , อำเภอบึงบูรพ์  (73.81  ต่อแสนประชากร) และอำเภอยางชุมน้อย  (73.20  ต่อแสนประชากร)

จากข้อมูลผู้ป่วยที่เพิ่มมากขึ้นและส่วนใหญ่เป็นเด็กโดยเฉพาะเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  เจ้าหน้าที่สาธารณสุขควรดำเนินการให้เกิดความร่วมมือของครูพี่เลี้ยงเด็กและผู้ปกครองในการคัดกรองอาการเด็กหากมีอาการป่วยหรือสงสัย ให้ได้รับการรักษาอย่างรวดเร็วและเน้นความสะอาด และการดูแลสุขลักษณะส่วนบุคคลทั้งที่บ้านและในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

4. เลปโตสไปโรซีส
ประเทศไทย  ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.. - 10  มี.. 2560  พบผูปวย 426 ราย จาก
45 จังหวัด คิดเปนอัตราปวย 0.65 ตอแสน ประชากร เสียชีวิต 13 ราย คิดเปนอัตราตาย 0.02 ตอแสน
ประชากร อัตราสวน เพศชายตอเพศหญิง
1: 0.32 กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ 35-44 ป (22.07 %)  45-54 ป (19.72 %) 25-34 ป (17.14 %) อาชีพสวนใหญ เกษตรรอยละ 45.1 รับจาง     รอยละ 26.5  นักเรียนรอยละ 8.9 จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด 5 อันดับแรกคือ นครศรีธรรมราช (5.22 ตอแสนประชากร)กระบี่ (5.22 ตอแสนประชากร)ศรีสะเกษ (4.50 ตอแสนประชากร) พัทลุง (4.41 ตอแสน  ประชากร) ตรัง (4.06 ตอแสนประชากร)

          จังหวัดศรีสะเกษ  ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.. - 21  มี.. 2560  พบผูปวยจำนวนทั้งสิ้น 77 ราย  คิดเป็นอัตราป่วย   5.28  ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียชีวิต 1  ราย   อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ    0.07   อัตราผู้ป่วยตายเท่ากับร้อยละ  1.30  อัตราส่วนเพศชาย ต่อ เพศหญิง  เท่ากับ 3.53 : 1  กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 35 - 44  ปี  (20  ราย)  รองลงมาคือ  กลุ่มอายุ   45 - 54  ปี  (19  ราย) , กลุ่มอายุ 55 - 64  ปี (13  ราย) , กลุ่มอายุ 25 - 34  ปี (9  ราย) และกลุ่มอายุ 65 +  ปี
(
8  ราย) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ  เกษตร  จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ  59  ราย  รองลงมาคือ   ข้าราชการ (5  ราย) , อื่นๆ    (4  ราย) , บุคลากรสาธารณสุข (3  ราย) และนักเรียน (2  ราย) อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด  5 อันดับแรก  คือ  อำเภอขุนหาญอัตราป่วย  27.6  ต่อแสนประชากร  รองลงมาคืออำเภอไพรบึง  (12.53  ต่อแสนประชากร) , อำเภอภูสิงห์  (10.38  ต่อแสนประชากร) , อำเภอศิลาลาด  (9.5  ต่อแสนประชากร) และอำเภอปรางค์กู่  (8.8  ต่อแสนประชากร)

กลุ่มเสี่ยงโรคดังกล่าวประกอบอาชีพเกษตรกรรม และมีอายุอยู่ในวัยทำงาน  ในช่วงนี้จะมีการดำเนิน กิจกรรมของกลุ่มอาชีพสูบสระ  ล่าหนู หาปลา  ที่มีโอกาสไปสัมผัสเชื้อก่อโรคได้ตามแหล่งน้ำในธรรมชาติ ขอให้หน่วยงานด้านสาธารณสุขและหน่วยงานด้านประชาสัมพันธ์  ให้ความรู้ให้ประชาชนปฏิบัติตัวให้ลดการติดเชื้อ หากมีอาการตั้งแต่เริ่มป่วยให้เข้ารักษาอย่างรวดเร็ว
          
5. งานระบาดวิทยา   
5.1 เฝ้าระวังรายงาน 506
นับตั้งแต่ 1 ม..21 มี..  2560  โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 10 อันดับแรก  ได้แก่
ไข้ไม่ทราบสาเหตุ  โรคอุจจาระร่วง  ปอดบวม  ตาแดง  อาหารเป็นพิษ   
STD(Sexually  Transmitted  Diseases)   ไข้หวัดใหญ่  ไข้เลือดออก  สุกใสและมือเท้าปาก  ตามลำดับ  การส่งรายงาน 506 ในเดือน  มีนาคม 2560 (รายละเอียดตามภาคผนวก)

          5.2  ข้อมูลผู้ป่วยที่ต้องทำการสอบสวนโรค
 มีผู้ป่วยที่ต้องทำการสอบสวนโรค  ตามหลักเกณฑ์ของสำนักระบาด  ข้อมูลเฝ้าระวังโรคติดต่อโปรแกรม R506  จังหวัดศรีสะเกษ  ตั้งแต่วันที่ 1 – 22 กุมภาพันธ์ 2560  มีผู้ป่วยที่ต้องดำเนินการสอบสวนโรคจำนวนทั้งสิ้น  42 ราย ใน 16  อำเภอ มี 5 โรค 5 รหัสโรค ในระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ รง. 506 ที่ต้องสอบสวนโรคมากที่สุด คือ Leptospirosis  จำนวน 18 ราย รองลงมาคือไข้เลือดออก  จำนวน  12  ราย      ไข้สมองอักเสบ  จำนวน  8 ราย   

ดังนั้นขอให้ SRRT  แต่ละอำเภอร่วมกับพื้นที่ในการดำเนินการควบคุมโรคพร้อมทั้งดำเนินการสอบสวนโรคและเขียนรายงานสอบสวนโรค ส่งสำนักงานสาธาณสุขจังหวัดศรีสะเกษ  เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์และใช้ร่วมกับการควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพได้มาตรฐานต่อไป

วาระการประชุมประจำเดือนเมษายน 2560 ออนไลน์ (อ.สุเพียร & สมจันทร์ บัวเขียว)

1. ตามที่ กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service plan) โดยในปีงบประมาณ 2559 ได้จัดทำโครงการคัดกรองและผ่าตัดต้อกระจกที่เป็นสาเหตุบอดในผู้สูงอายุเพื่อคัดกรองสายตาผู้สูงอายุและผ่าตัดต้อกระจกชนิดบอด(Blinding Cataract)และในปีงบประมาณ 2560 กำหนดเป้าหมายให้ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองสายตาไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 จากการตรวจสอบข้อมูลในโปรแกรม Vision2020thailand​พบว่า ข้อมูลการคัดกรองภาพเขต ณ วันที่ 8 มีนาคม 2560 พบว่ามีการคัดกรองตาต้อกระจกในผู้สูงอายุเพียงร้อยละ 45.95

ในการนี้ เขตสุขภาพที่ 10 โดย สสจ.ศรีสะเกษและ คปสอ.ขุขันธ์ จึงขอความร่วมมือ จนท.ผู้รับผิดชอบงานได้เร่งรัดดำเนินการคัดกรองตาต้อกระจกในผู้สูงอายุและลงบันทึกในโปรแกรมVision2020thailand​ ให้แล้วเสร็จภายในเดือนเมษายน 2560 นี้

 คลิกที่ลิงก์นี้ เพื่อเข้าโปรแกรมฯ (โดย Username => รหัส5ตัวของสถานบริการของท่าน และ Passwod => kh*****) http://www.vision2020thailand.org/home.php

เทคนิคการคัดกรองตาต้อกระจก(V/A) โดย จนท. ซึ่งจะมีผลดีคือ คัดกรองเสร็จ ใน JHCIS แล้วก็ส่งออกข้อมูล และนำเข้า VISION 2020 ได้เลย โดยไม่ต้องคีย์ซ้ำ 2 ครั้ง (เหนื่อยทีเดียว..คุ้ม) คลิก

ที่มา : ที่ สธ 0246/ว282 ลง 13 มี.ค. 2560 เรื่อง ขอความร่วมมือให้เร่งรัดการคัดกรองตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ

2. สสอ.ขุขันธ์ ขอส่งข้อมูลการตรวจตาผู้สูงอายุที่เคยได้รับการตรวจจากโรงพยาบาลศุภมิตร ราย รพ.สต. ปี 2558-2559 ให้รับแผ่นซีดีไฟล์ข้อมูลได้ที่ช่องรับหนังสือราชการ สสอ.ขุขันธ์ ได้แตั้งแต่วันที่ 3 เมษายน 2560 เป็นต้นไป

รพ.สต.ที่มีPt.ผู้สุงอายุตรวจตาจำนวนPt.(ราย)
รพ.สต.กฤษณา56
รพ.สต.กันจาน7
รพ.สต.ขนุน10
รพ.สต.โคกโพน14
รพ.สต.ใจดี3
รพ.สต.ตะเคียนบังอีง73
รพ.สต.นาก๊อก3
รพ.สต.นิคมซอยกลาง6
รพ.สต.บ่อทอง8
รพ.สต.ปราสาท13
รพ.สต.สมบูรณ์17
รพ.สต.สำโรงตาเจ็น13
รพ.สต.หนองคล้า6
รพ.สต.หนองลุง34
รพ.สต.หัวเสือ59
รพ.สต.อาวอย28
ผลรวม350

3. พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานในพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือและมอบนโยบายการบูรณาการความร่วมมือการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต (กลุ่มเด็กปฐมวัยและผู้สูงอายุ) ณ ตึกสันติไมตรี (หลังนอก) ทำเนียบรัฐบาล วันที่ 30 มีนาคม 2560

ที่มา : แจ้งข่าวในกลุ่มไลน์งานผู้สูงอายุ สสจ.ศรีสะเกษ

4. เอกสารการอบรมมิติจิตวิญญาณในมุมมองพุทธวิถี กับการดูแลผู้ป่วยประคับประคอง และระยะสุดทายโดย พระแสนปราชญ์ ปัญญาคโม ซึ่งงานCCC ขุขันธ์ ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2560 ที่ผ่านมา คลิก


5. ขอบพระคุณคณะ จนท.ทุก รพ.สต.ที่ให้ความร่วมมือด้วยดี เช่นเคย ทำให้การสำรวจข้อมูลหน่วยสถานบริการที่ติดตั้งใช้งานอินเตอร์เน็ต CAT และผู้รับผิดชอบราย รพ.สต. ปีงบประมาณ 2560 เมื่อวันศุกร์ที่ 31 มีนาคม 2560 บัดนี้ สสอ.ขุขันธ์ ได้ส่งข้อมูลรายงานฯให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ สสจ.ศรีสะเกษ เรียบร้อยแล้ว ตรวจสอบที่ลิงก์นี้ คลิก
ที่มา : ที่ สธ 0032/011 ลง 29 มี.ค. 2560 เรื่อง ขอข้อมูลผู้ดูแลระบบเชื่อโยงเครือข่าย Internet

การติดตามงานผู้สูงอายุ และ ltc ปีงบประมาณ 2560 ตัวชี้วัดที่จะต้องเตรียมรับประเมินRanking รอบที่ 2/2560
( งาน LTC คะแนน Ranking รอบที่ 1 ได้ 2.7 คะแนน / คะแนนเต็ม 3 )

1. รายงานการคัดกรอง Basic Geriatric Screening ภาพรวมโปรแกรม Aging Health Data ต้องมากกว่าร้อยละ 90 

2. รายงานการคัดกรองตาผู้สูงอายุในโปรแกรม Vision 2020 Thailand ต้องมากกว่าร้อยละ 75

หมายเหตุ 

- เตรียมส่งต่อ เพื่อรับการผ่าตัด ณ ร.พ.ขุนหาญ , ร.พ.ศรีสะเกษ และ ร.พ.ประชารักษ์ เริ่มเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2560

- ตัวชี้วัด 2 รายการนี้ มีงบประมาณสนับสนุน LTC แห่งละ 1,250 บาท / ตามโครงการฯ

3. สำหรับพื้นที่ตำบล LTC จำนวน Care Plan ที่เขียน และ Care Giver(CG)ลงสู่การปฏิบัติ ต้องมากกว่าร้อยละ 80


พื้นที่ LTC : 10 ตำบล : 14 รพ.สต. งบประมาณโอนลงที่ท้องถิ่นแล้ว ทุกแห่ง
10 เม.ย.60 จัดประชุม Conference Care Plan เป้าหมาย CM จำนวน 14 รพ.สต.
         - ต้นเดือน พ.ค. 60 ขับเคลื่อนองค์กรท้องถิ่น พื้นที่เป้าหมาย 10 ตำบล ร่วมกับ รพ.สต.
         - เดือน พ.ค.60 CM นำเสนอ CP กับคณะอนุกรรมการ LTC เพื่อขออนุมัติ ดำเนินการตาม CP
         - เดือน มิ.ย. 60 CG เริ่มลงปฏิบัติงาน ตาม CP
         - เดือน ก.ค. 60 ออกประเมินระดับอำเภอ โดยคณะกรรม LTC ระดับอำเภอ
            อย่างน้อยต้องได้ ระดับดี ร้อยละ 30 คือ 4 แห่ง จาก 14 แห่ง