"ขุขันธ์ เมืองเก่า ชนทุกเผ่าสามัคคี บารมีพระแก้วเนรมิตวัดลำภู คู่หลวงพ่อโตวัดเขียน กระอูบ เกวียน ครุน้อย เครื่องจักสาน ปราสาทโบราณเป็นศรี ประเพณีแซนโฎนตา"
ข้อมูลหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น(กปท.)
 

วาระฯ 10 มกราคม 2561

ระเบียบวาระการประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอขุขันธ์
วันที่  10  มกราคม   2561

ณ ห้องประชุมอาคารส่งเสริมสุขภาพ  สำนักงานสาธารณสุขอำเภอขุขันธ์

           ๑. สถานการณ์โรคไข้เลือดออก
           ประเทศไทย  ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ ๑ ม.. – ๑๘  ธ.. ๒๕๖๐ พบผูปวย ๕๐,๙๑๔ ราย จาก ๗๗ จังหวัด คิดเปนอัตราปวย ๗๗.๘๒ ตอ แสนประชากร เสียชีวิต ๖๐ ราย คิดเปนอัตราตาย ๐.๐๙ ตอแสนประชากร อัตราสวนเพศชายตอเพศหญิง ๑: ๐.๙๓ กลุมอายุที่พบมากที่สุด  คือ ๑๕-๒๔ ป (๒๕.๔๗ %) ๑๐-๑๔ ป (๑๘.๙๒ %)     ๒๕-๓๔ ป (๑๕.๐๗ %) อาชีพสวนใหญ นักเรียนรอยละ ๔๒.๖ รับจางรอยละ ๒๐.๓ จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสน   ประชากรสูงสุด ๕ อันดับ แรกคือ เพชรบุรี(๒๒๐.๔๑ ตอแสนประชากร) ตาก (๒๑๘.๖๖ ตอแสนประชากร) สงขลา (๒๑๐.๙๖      ตอแสนประชากร) ภูเก็ต (๑๙๐.๐๗ ตอแสนประชากร) พัทลุง (๑๙๐.๐๐ ตอแสนประชากร)
          จังหวัดศรีสะเกษ  ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ ๑ ม.. – ๒๕  ธ.. ๒๕๖๐  จำนวนทั้งสิ้น ๖๒๓ ราย  คิดเป็นอัตราป่วย ๔๒.๕๓  ต่อประชากรแสนคน อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง  เท่ากับ ๑.๑๕ : ๑ กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือ ๑๐ - ๑๔  ปี  (๑๕๘.๙๑  ต่อแสนประชากร)  รองลงมาคือ  ๕ - ๙  ปี  (๑๑๕.๔๒ ต่อแสนประชากร) ๑๕ - ๒๔  ปี (๘๐.๖๔  ต่อแสนประชากร)  ๐ - ๔  ปี (๔๕.๗๗  ต่อแสนประชากร) และ  ๒๕ - ๓๔  ปี (๒๐.๐๔  ต่อแสนประชากร) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ  นักเรียน จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ  ๒๙๐ ราย  รองลงมาคือ  ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง (๑๒๗  ราย)  เกษตรกร (๑๑๔  ราย) และบุคลากรสาธารณสุข (๒๓  ราย)  อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด  ๕ อันดับแรก  คือ  ขุนหาญอัตราป่วย  ๘๐.๑๑  ต่อแสนประชากร รองลงมาคือ ยางชุมน้อย  (๗๗.๔๔  ต่อแสนประชากร) ราษีไศล  (๖๖.๒๗  ต่อแสนประชากร)
เบญจลักษ์  (๖๕.๖๑  ต่อแสนประชากร) และ น้ำเกลี้ยง  (๖๐.๑๑  ต่อแสนประชากร 
โรคไข้เลือดออกเกิดได้ตลอดทั้งปี  หมู่บ้านที่พบผู้ป่วยรายใหม่ ให้ควบคุมโรคตามแนวทางด้านสาธารณสุข  เพื่อไม่ให้เกิดผู้ป่วยเพิ่มเติม ส่วนหมู่บ้านที่พบผู้ป่วย ๒ รายขึ้นไปใน ๒๘ วัน ต้องทำการควบคุมโรคอย่างเข้มข้นเพื่อควบคุมการระบาดของโรค  รายชื่อหมู่บ้านต้องควบคุมโรคเข้มข้น  จำนวน  ๒ หมู่บ้าน  ได้แก่
๑)      อำเภอ กันทรลักษ์ ตำบลเสาธงชัย บ้านโนนเจริญ
๒)      อำเภอ ขุนหาญ ตำบลบักดอง บ้านตำหนักไทร
                   ทั้งนี้ควรดำเนินการควบคุมโรคอย่างเข้มข้นตลอดจนการเฝ้าระวังสถานการณ์การเกิดโรคอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษจึงขอความร่วมมือท่านผู้บริหารสาธารณสุขกำกับติดตามการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่และส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความร่วมมือในการดูแลสภาพแวดล้อม และควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง    ลดค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน  หมู่บ้าน ชุมชน ทำให้ วัด โรงเรียนและหน่วยงานปลอดลูกน้ำยุงลาย และลงบันทึกข้อมูลการสำรวจลูกน้ำยุงลาย  ที่เว็บไซต์สำนักงานสาธารณสุข
จังหวัด  ศรีสะเกษ   http://๒๐๓.๑๕๗.๑๖๕.๑๑๕/r๕๐๖/bicihi.php โดยลงบันทึกทุกหมู่บ้าน  สัปดาห์ละ ๑ ครั้ง ขอให้      ท่านผู้บริหารงานสาธารณสุขกำกับติดตามให้ลงบันทึกในทุกหมู่บ้าน เพื่อดำเนินการควบคุมกำกับติดตามการเกิดโรคอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
                             ๒. สถานการณ์โรคมือเท้าปาก
          ประเทศไทย  ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ ๑ ม.. – ๑๗  ธ.. ๒๕๖๐ พบผูป่วย ๖๘,๙๖๒ รายจาก ๗๗ จังหวัด คิดเปนอัตราปวย ๑๐๕.๔๐ ตอ แสนประชากร เสียชีวิต ๓ ราย อัตราสวน เพศชายตอเพศหญิง ๑: ๐.๘๐      กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ ๑ ป (๒๕.๗๗ %) ๒ ป (๒๓.๘๒ %) ๓ ป (๑๘.๑๐ %) อาชีพสวนใหญ         ไมทราบอาชีพ/ในปกครองรอยละ ๘๖.๔ นักเรียน รอยละ ๑๑.๙ อื่นๆรอยละ ๐.๙ จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสน   ประชากรสูงสุด ๕ อันดับ แรกคือ จันทบุรี(๓๑๐.๘๕ ตอแสน
ประชากร) สุราษฎรธานี (๒๓๖.๘๙ ตอแสนประชากร) ตราด (๒๑๙.๗๔ ตอแสนประชากร) พะเยา (๑๘๓.๘๕ ตอแสนประชากร) พิษณุโลก (๑๘๓.๐๐ ตอแสน ประชากร)
จังหวัดศรีสะเกษ  ขอมูลเฝาระวังโรคตั้งแต่วันที่  ๑ ม.. – ๒๕  ธ.. ๒๕๖๐   พบผู้ป่วยจำนวนทั้งสิ้น ๑๓๙๙ ราย  คิดเป็นอัตราป่วย   ๙๕.๕๐  ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต  อัตราส่วนเพศชาย ต่อ เพศหญิง  เท่ากับ ๑.๔๐ : ๑  กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือ ๐ - ๔  ปี  (๑๕๒๓.๕๖  ต่อแสนประชากร)  รองลงมาคือ๕ - ๙  ปี  (๑๑๔.๓๑  ต่อแสนประชากร) ๑๐ - ๑๔  ปี (๑๘.๓๘  ต่อแสนประชากร) ๑๕ - ๒๔ ปี (๓.๑๗  ต่อแสนประชากร) และ ๔๕ - ๕๔  ปี (๐.๙๒ ต่อแสนประชากร)  อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ 
ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง  จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ  ๑๒๘๙  ราย  รองลงมาคือ   นักเรียน (๘๗  ราย)  อื่นๆ(๑๕  ราย)  เกษตร (๓  ราย) และบุคลากรสาธารณสุข (๓  ราย)  อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด  ๕ อันดับแรก  คือ ขุนหาญ  อัตราป่วย  ๒๕๕.๒๑  ต่อแสนประชากร  รองลงมาคือ เมืองจันทร์  (๑๖๖.๕๓ ต่อแสนประชากร)ห้วยทับทัน  (๑๖๐.๘๙  ต่อแสนประชากร) ภูสิงห์  (๑๕๕.๖๘  ต่อแสนประชากร) และยางชุมน้อย  (๑๔๙.๓๕  ต่อแสนประชากร)
จากจำนวนผู้ป่วยที่เพิ่มมากขึ้นและส่วนใหญ่เป็นเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ขอความร่วมมือให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขประสานการมีส่วนร่วมจากครูพี่เลี้ยงเด็กได้ตรวจสุขภาพเด็กประจำวันทุกวัน หากพบมีอาการป่วยควรให้เด็กหยุดเรียน และแนะนำให้เด็กอยู่บ้านไม่ไปเล่นกับเด็กคนอื่นในหมู่บ้านจนกว่าอาการป่วยจะหายเป็นปกติ ผู้ปกครองและญาติ ควรรับคำแนะนำและปฏิบัติตัวในการดูแลผู้ป่วยจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือบุคลากรทางการแพทย์
                   .โรคพิษสุนัขบ้า
               
     แนวทางการดำเนินงานตามโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า
ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และดูแลรักษาโรคในคน

๑). วัตถุประสงค์
เพื่อติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนการดำเนินโครงการตามยุทธศาสตร์ที่ ๓ และรับทราบปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าให้หมดไปจากประเทศไทย ภายในปี ๒๕๖๒ ระดับเขตจังหวัด และพื้นที่
๒). เป้าหมายการดำเนินงานเป้าหมาย ปี ๒๕๖๑
. ผู้สัมผัสสัตว์ที่ตรวจพบเชื้อพิษสุนัขบ้าได้รับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าตามแนวทางเวชปฏิบัติ ๑๐๐% และลดการใช้วัคซีนลง

. จำนวนผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า ๐ ราย
. จังหวัดศรีสะเกษเป็นจังหวัดเสี่ยง ดังนั้นทุกอำเภอจึงเป็นพื้นที่เสี่ยง
 มีการดำเนินการตามแผนป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า ตามมาตรการเชิงรุกที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด โดยมีอำเภอปลอดโรคพิษสุนัขบ้า ในพื้นที่เสี่ยงสูง ๔ อำเภอ ได้แก่ ขุนหาญ ขุขันธ์   ไพรบึง และปรางค์กู่ (ไม่พบผู้ป่วยในคนและในสัตว์)
. คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ทุกอำเภอ มีแผนป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า ๑๐๐%
. มีระบบการรายงานเหตุการณ์ผิดปกติ พบเห็นสัตว์ที่สงสัยว่าเป็นโรคพิษสุนัขบ้า หรือผู้ที่ถูกกัด ให้แจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทราบทันที เพื่อค้นหาและให้วัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าแก่ผู้สัมผัสโรค
๓. แนวทางการดำเนินงานปี ๒๕๖๑
* ผู้ที่โดนสัตว์กัดต้องมีการค้นหาและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ๑๐๐ %
- การบันทึกรายงาน ร.๓๖ บางอำเภอยังต่ำและไม่เป็นปัจจุบัน  จะมีการอบรมการใช้โปรแกรม ร.๓๖
- จัดทำอำเภอปลอดโรคพิษสุนัขบ้า ในพื้นที่เสี่ยงสูง ๔ อำเภอ ได้แก่ ขุนหาญ ขุขันธ์ ไพรบึง และปรางค์กู่ (ไม่พบผู้ป่วยในคนและในสัตว์) จังหวัดลงนิเทศติดตาม ในเดือนมกราคม  กุมภาพันธ์ มีนาคม ๒๕๖๑
- ขอความร่วมมือในการติดตามผู้มารับวัคซีนให้ครบถ้วน
 ๔.โรคเลปโตสไปโรซีส(Leptospirosis)
           ประเทศไทย  ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ ๑ ม.. – ๑๘  ธ.. ๒๕๖๐  พบผูปวย
พบผูปวย ๓
,๓๔๐ ราย จาก ๖๖ จังหวัด คิดเปนอัตราปวย ๕.๑๐ ตอแสนประชากร เสียชีวิต ๖๐ ราย คิดเปนอัตราตาย ๐.๐๙ตอแสนประชากร อัตราสวนเพศชายตอเพศหญิง ๑:.๒๒ กลุมอายุที่พบมากที่สุด
เรียงตามลําดับ คือ ๔๕
-๕๔ ป (๒๒.๖๐ %) ๓๕-๔๔ ป (๑๘.๗๔ %) ๕๕-๖๔ ป (๑๗.๕๗ %) อาชีพสวนใหญ เกษตรกรรอยละ ๕๐.๖ รับจางรอยละ ๒๒.๑ นักเรียนรอยละ ๘.๖ จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด ๕ อันดับ แรกคือ ศรีสะเกษ (๕๕.๒๘ ตอแสนประชากร) ตรัง (๒๒.๖๖     ตอแสนประชากร) กระบี่ (๑๗.๘๕ ตอแสนประชากร) นครศรีธรรมราช (๑๕.๖๗ ตอแสนประชากร) พังงา (๑๔.๔๖ ตอแสนประชากร)
          จังหวัดศรีสะเกษ  ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ ๑ ม.. – ๒๕  ธ.. ๒๕๖๐  พบผูปวยจำนวนทั้งสิ้น ๗๕๑ ราย  คิดเป็นอัตราป่วย   ๕๑.๒๗  ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียชีวิต ๑๓ ราย อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ  ๐.๘๙   อัตราผู้ป่วยตายเท่ากับร้อยละ  ๑.๗๓  อัตราส่วนเพศชาย ต่อ เพศหญิง  เท่ากับ ๓.๗๒ : ๑ กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ ๔๕ - ๕๔  ปี  (๒๑๑  ราย)  รองลงมาคือ  ๓๕ - ๔๔  ปี  (๑๕๗  ราย)  ๕๕ - ๖๔  ปี (๑๔๘  ราย)  ๖๕  ปีขึ้นไป (๑๐๔  ราย) และ  ๒๕ - ๓๔  ปี (๗๗  ราย)  อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ  เกษตรกร  จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ  ๕๖๐  ราย  รองลงมาคือ   อื่นๆ (๕๙  ราย) ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง (๔๔  ราย)  ข้าราชการ (๒๖  ราย) และรับจ้างกรรมกร (๒๐  ราย)  อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด  ๕ อันดับแรก  คือ  อำเภอภูสิงห์อัตราป่วย  ๑๕๕.๖๙  ต่อแสนประชากร  รองลงมาคืออำเภอปรางค์กู่  (๑๒๙.๐๙  ต่อแสนประชากร) , อำเภอขุขันธ์  (๑๒๖.๓๕ ต่อแสนประชากร) , อำเภอขุนหาญ  (๑๐๒.๔๖  ต่อแสนประชากร) และอำเภอไพรบึง  (๕๖.๓๘  ต่อแสนประชากร) โรคนี้เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ  ดังนั้นหากมีผู้ป่วยในพื้นที่เข้ารับการรักษาด้วยอาการอย่างน้อย ๒ อาการ ต่อไปนี้ ได้แก่
ไข้ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระบอกตา ปวดน่อง มีประวัติ ทำอาชีพทางการเกษตร   ต้องรีบไปเข้ารับการรักษาที่หน่วยบริการสาธารณสุข หรือโรงพยาบาลทันที

          ๕. Influenza
          ประเทศไทย  ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ ๑ ม.. - ๑๘ ธ.. ๖๐ พบผูปวย ๑๙๒,๕๙๓ ราย จาก ๗๗ จังหวัด คิดเปนอัตราปวย  ๒๙๔.๓๖ ตอแสนประชากร เสียชีวิต ๕๕ ราย คิดเปนอัตราตาย ๐.๐๘ ตอแสนประชากร อัตราสวน เพศชายตอเพศหญิง ๑: .๑๑ กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ ๑๕-๒๔ ป (๑๒.๔๘ %) ๓๕-๔๔ ป (๑๐.๔๓ %) ๒๕-๓๔ ป (๑๐.๓๖ %) อาชีพสวนใหญ ไมทราบอาชีพ/ในปกครองรอยละ ๓๖.๓นักเรียนรอยละ ๒๙.๒ รับจางรอยละ ๑๖.๓ จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด๕ อันดับ แรกคือ กรุงเทพมหานคร (๘๗๒.๒๐ ตอแสนประชากร) ระยอง (๘๒๙.๙๙ ตอแสนประชากร) จันทบุรี(๖๘๒.๙๓ ตอแสนประชากร) เชียงใหม (๖๑๐.๓๖ ตอแสนประชากร) หนองคาย (๕๖๔.๙๙ ตอ แสนประชากร)
          จังหวัดศรีสะเกษ  ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม..25  ธ.. 2560  พบผูปวยจำนวนทั้งสิ้น 1,284 ราย  คิดเป็นอัตราป่วย   87.65  ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต   อัตราส่วนเพศหญิงต่อเพศชาย  เท่ากับ  1.18 : 1 กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือ  0 - 4  ปี  (286.65  ต่อแสนประชากร)  รองลงมาคือ  5 - 9  ปี  (170.92  ต่อแสนประชากร) 10 - 14  ปี (153.5  ต่อแสนประชากร) 55 - 64  ปี (82.86  ต่อแสนประชากร) และ 65 ปีขึ้นไป (80.73  ต่อแสนประชากร)  อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ  ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง  จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ  362  ราย  รองลงมาคือ   นักเรียน (320  ราย) , เกษตร (310  ราย) , อื่นๆ (134  ราย) และข้าราชการ (61  ราย)  อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด  5 อันดับแรก  คือ  บึงบูรพ์ อัตราป่วย  350.62  ต่อแสนประชากร  รองลงมาคือ ยางชุมน้อย  (248.93  ต่อแสนประชากร) ปรางค์กู่  (195.11  ต่อแสนประชากร) อุทุมพรพิสัย  (188.91  ต่อแสนประชากร) และ ราษีไศล  (142.17  ต่อแสนประชากร)
          กลุ่มเสี่ยงโรคดังกล่าวประกอบด้วยเด็กและผู้สูงอายุที่ภูมิคุ้มกันยังไม่เจริญเต็มที่และ
มีความเสื่อมของภูมิต้านทานต่อโรคติดต่อ ประกอบกับอากาศตอนนี้เริ่มเข้าสู่ฤดูหนาว ผู้ปกครองและญาติควรดูแลกลุ่มเสี่ยงดังกล่าวให้รักษาความอบอุ่นของร่างกาย โดยการนอนห่มผ้า และหากมีอาการของระบบทางเดินหายใจ  ควรรีบปรึกษาแพทย์หรือบุคลการด้านสาธารณสุข  จะได้รับการรักษาที่ถูกต้องและรวดเร็วเพื่อลดความรุนแรงของโรคที่เกิดขึ้น
             
๖. งานระบาดวิทยา   
          ๖.๑ เฝ้าระวังรายงาน ๕๐๖
                นับตั้งแต่ ๑ ม.. – ๒๕ ธ..  ๒๕๖๐  โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ๑๐ อันดับแรก  ได้แก่ โรคไข้ไม่ทราบสาเหตุ  อุจจาระร่วง  ปอดบวม  ตาแดง  อาหารเป็นพิษ STD (Sexually  Transmitted  Disease)  มือเท้าปาก  วัณโรค  อีสุกอีใส  ไข้หวัดใหญ่  ตามลำดับ การส่งรายงาน ๕๐๖ ในเดือน ธันวาคม ๒๕๖๐